รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดเกาะขวาง

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

 

1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ 1 ตำบลเกาะขวาง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี เปิดสอนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1  ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

มีจำนวนนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงอนุบาลปีที่ 3  จำนวน 36 คน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6  จำนวน  89 คน   รวมจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น 125 คน มีบุคลากรสายบริหาร  จำนวน 1 คน และมีข้าราชการครู ครูอัตราจ้างและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ จำนวน 12 คน 

ระดับปฐมวัย

ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์)  ระดับปฐมวัยในภาพรวม อยู่ในระดับ ดี โดยมีกระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน ดังต่อไปนี้ มีการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาระดับปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560ตามโครงการพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยให้เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อมเน้นการเรียนรู้ผ่านการ เล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น กิจกรรมบูรณาการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่มี ความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้าน การจัดประสบการณ์โดยโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้มีการพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการ ออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ตามโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่งผลให้ครูโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย รวมทั้งโรงเรียนได้ส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ พอเพียง มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อ เทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ จากโครงการพัฒนาส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานปฐมวัย ส่งผลให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียงการให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก ให้บริการด้าน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง และโรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนดได้มี การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้ง รายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง (หรือนำเสนอในลักษณะรูปแบบ PDCA  P มีแผนการดำเนินงานอะไรบ้าง D ทำอะไร C กำหนดการตรวจสอบเมื่อไหร่ และ A นำมาปรับปรุงให้ได้ผลตามมาตรฐานที่ตั้งไว้)

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

         ในระดับขั้นพื้นฐานเพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่น ในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนการเรียนการสอนในวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง รวมถึงการสอนศีลธรรมแก่นักเรียน โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) พุทธศักราช ๒๕๖๑ สอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการบริหารจัดการเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตัวชี้วัด สอดคล้อง มีการจัดทำโครงการรักความเป็นไทยและมีวิถีชีวิตอย่างพอเพียง โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. โครงการพัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งช่วยให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) เห็นผลคาดหวังที่ต้องการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนวทางการพัฒนา ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่น และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในสถานศึกษามีคุณภาพ และมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ นอกจากนั้นโรงเรียนได้จัดทำโครงการประกันคุณภาพการศึกษา โครงการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้มีส่วนในการพัฒนาโรงเรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาซึ่งได้ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ และมีการจัดทำรายงานให้ต้นสังกัดทราบ

 

 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

 

1. โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยโรงเรียน
1.1 กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ
1.2 กิจกรรมพัฒนาการเจริญเติบโตของเด็ก และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
1.3 กิจกรรมส่งเสริมความรู้เรื่องสิ่งเสพติดให้โทษ และหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
1.4 กิจกรรมสร้างความมั่นใจแสดงออกอย่างเหมาะสม
1.5 กิจกรรมสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และให้เกียรติผู้อื่น
2. โครงการวันสำคัญและขนบธรรมเนียมประเพณี
2.1 กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา
2.2 กิจกรรมวันสำคัญที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
2.3 กิจกรรมวันไหว้ครู
2.4 กิจกรรมวันสุนทรภู่ และวันภาษาไทย
2.5 กิจกรรมวันลอยกระทง
2.6 กิจกรรมวันรัฐธรรมนูญ
2.7 กิจกรรมวันเด็ก
2.8 กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่
3. โครงการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานเด็กปฐมวัย
3.1 กิจกรรมพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
3.2 กิจกรรมสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียน
3.3 กิจกรรมวัดและประเมินทักษะความรู้ และพัฒนาการของเด็ก
4. โครงการพัฒนาการเรียนรู้
4.1 กิจกรรมคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา
4.2 กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
4.3 กิจกรรพัฒนาทักษะอาชีพผู้เรียนตาม
4.4 กิจกรรมการจัดทำแบบประเมินทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และเขียนแบบต่าง ๆ
4.5 กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
Active Learnging
4.6กิจกรรมการนิเทศการศึกษา
4.7 กิจกรรมการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.8 กิจกรรมห้องสมุด
4.9 กิจกรรมจัดทำทะเบียนแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน
4.10 กิจกรรมการสอบตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านต่าง ๆ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6

4.11 กิจกรรมการสอนเซปักตะกร้อ และจัดหาวิทยากรมาสอน
4.12 กิจกรรมการส่งเสริมนักเรียนร่วมกิจกรรมการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
4.13 กิจกรรมทัศนศึกษาของนักเรียนปีละ 1 ครั้ง
4.14 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม
DLTV ช่วงสถานการณ์โควิด 19
5. โครงการพัฒนาหลักสูตรศถานศึกษา และสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

5.1กิจกรรมการจัดทำหลักสูตร
5.2 กิจกรรมติดตามและประเมินผล

6. โครงการส่งเสริมนโยบายตามมาตรการ
6.1 กิจกรรมส่งเสริมค่านิยม 12 ประการ
6.2 กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง (ตามนโยบายโรงเรียนประชารัฐ)
7. โครงการการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
7.1 กิจกรรมกำหนดขอบข่ายในการจัดทำแผนพัฒนา และดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา
7.2 กิจกรรมจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่อิงแผนพัฒนาการศึกษา
7.3 กิจกรรมส่งเสริม และสนับสนุนให้ครู นักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษาได้เข้าร่วมพัฒนาตนเอง
7.4 กิจกรรมส่งเสริม และสนับสนุนให้ครูมีการพัฒนาตนเองให้มีวิทยะฐานะที่สูงขึ้น
8. โครงการค่าใช้จ่ายระบบสาธารณูปโภค
8.1 กิจกรรมสำรวจค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค
8.2 กิจกรรมประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค
8.3 กิจกรรมดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภค
9. โครงการปรับปรุงอาคารสถานที่และภูมิทัศน์
9.1 กิจกรรมปรับปรุงภายในอาคาร
9.2 กิจกรรมปรับปรุงภายนอกอาคาร
9.3 กิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์
9.4 กิจกรรมปรับปรุงระบบโทรทัศน์เพื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
9.5 กิจกรรมจัดซื้ออุปกรณ์เครื่องใช้ภายในโรงเรียน
10. โครงการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
10.1 กิจกรรมประชุมชี้แจ้งโครงการ
10.2 กิจกรรมดำเนินงานตามโครงการ
10.3 กิจกรรมสรุป และรายงานผล
11. โครงการพัฒนางานกลุ่มบริหารงบประมาณ
11.1 กิจกรรมงานบริหารกลุ่มบริหารงบประมาณ
11.2 กิจกรรมงานการเงิน
11.3 กิจกรรมงานบัญชี
11.4 กิจกรรมงานพัสดุและทรัพย์สิน
11.5 กิจกรรมการตรวจสอบภายใน
11.6 กิจกรรมงานควบคุมภายใน
12. โครงการกิจการนักเรียน
12.1 กิจกรรมการรับนักเรียน
12.2 กิจกรรมการเยี่ยมบ้านนักเรียน
12.3 กิจกรรมติดตามนักเรียนที่มีแนวโน้มออกกลางคัน
12.4 กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
12.5 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
12.6 กิจกรรมสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน
13. โครงการประกันคุณภาพการศึกษา
13.1 กิจกรรมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
13.2 กิจกรรมจัดแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษา
13.3 กิจกรรมจัดระบบบริหารและสารสนเทศ
13.4 กิจกรรมดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
13.5 กิจกรรมติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
13.6 กิจกรรมประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
13.7 กิจกรรมจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
13.8 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
14. โครงการทักษะชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง
14.1 กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่พอเพียง
14.2 กิจกรรมปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียน
14.3 กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง
14.4 กิจกรรมคัดแยกขยะ
โครงการพิเศษตามนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1
1. โครงการโรงเรียนประชารัฐ
1.1 กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่
2. โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
2.1 กิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
2.2 กิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม
2.3 กิจกรรมติดตั้งเครื่องเสียงเพื่อใช้ในโครงการ
3. โครงการการป้องกันการทุจริต
3.1 กิจกรรม
ดำเนินการสอนตามที่กำหนดในแต่ละระดับชั้น
3.2 กิจกรรม
วัดและประเมินผล
4. โครงการอาหารกลางวัน
4.1 กิจกรรมจัดอาหารกลางวันตามโปรแกรม
Thai school lunchและอาหารเสริมนม
5. โครงการ
พัฒนาคุณภาพการอ่านออกเขียนได้และการอ่านคล่องเขียนคล่องของนักเรียน
5.1 กิจกรรมส่งเสริมหลักการเขียนสะกดคำ
5.2 กิจกรรมให้นักเรียนฝึกทักษะการอ่านและเขียนสะกดคำ
5.3 กิจกรรมส่งเสริมการสื่อสารโดยใช้เกมกระซิบ
5.4 กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและเขียนคำที่มีตัวทัณฑฆาต
5.5 กิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนฝึกแต่งประโยคจากคำที่กำหนดให้
5.6 กิจกรรมให้นักเรียนอ่านเขียนและการผันเสียงอักษรสามหมู่
5.7 กิจกรรมเขียนให้เป็นเรื่อง (เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4)
5.8กิจกรรม อ่านดีมีสาระ
5.9กิจกรรมการพัฒนาความสามารถการอ่านจับใจความ โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง การอ่านจับใจความ เมืองจันทบุรี


 

 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

1. โครงการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานเด็กปฐมวัย

กิจกรรม

    1.1 กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ    1.2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์      1.3 กิจกรรมสร้างสรรค์     1.4 กิจกรรมเสรี      1.5 กิจกรรมกลางแจ้ง

    1.6 กิจกรรมเกมการศึกษา    1.7 กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย     1.8 กิจกรรมบูรณาการสะเต็มศึกษา  1.9 กิจกรรมเพิ่มเติมหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา

2. โครงการพัฒนาการเรียนรู้

กิจกรรม

    2.1 กิจกรรมคัดเลือกหนังสือแบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา     2.2 กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ

    2.3 กิจกรรมพัฒนาทักษะผู้เรียนตามที่หลักสูตรกำหนด   2.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Active learning

    2.5 กิจกรรมการนิเทศการศึกษา   2.6 การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา   2.7  กิจกรรมห้องสมุด

    2.8 กิจกรรมจัดทำทะเบียนแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน2.9 กิจกรรมการสอบตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านต่างๆของชั้น ป.1-ป.6

    2.10 กิจกรรมการสอนเซปักตะกร้อและจัดหาวิทยากรมาสอน  2.11 การส่งเสริมนักเรียนร่วมกิจกรรมการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

    2.12 กิจกรรมทัศนศึกษาของนักเรียนปีละ 1 ครั้ง

   2.13 การจัดการเรียนรู้ทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV ช่วงสถานการณ์โควิด ๑๙ มีการจัดทำเอกสารประกอบการเรียนให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเองที่บ้าน

3. โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยโรงเรียน

กิจกรรม

    3.1 ส่งเสริมให้นักเรียนมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพและออกกำลังกายสม่ำเสมอ

    3.2 การพัฒนาการเจริญเติบโตของเด็กและมี  สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน

    3.3 ส่งเสริมความรู้เรื่องสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ

    3.4 สร้างความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม   3.5 สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น

4. โครงการรักความเป็นไทย และมีวิถีชีวิตอย่างพอเพียง

กิจกรรม

    4.1 กิจกรรมแต่งกายด้วยผ้าไทย 4.2 กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน  4.3 กิจกรรมเงินออม  4.4 กิจกรรมทักทายยามเช้า   4.5 กิจกรรมประชาธิปไตย

5. โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.

กิจกรรม    

5.1 คืนธรรมะสู่ห้องเรียน  5.2 กิจกรรมเข้าค่ายคุณธรรม    5.3 กิจกรรมวิถีพุทธ

6. โครงการป้องกันการทุจริต

กิจกรรม

    6.1 กิจกรรมดำเนินการสอนตามที่กำหนดในแต่ละระดับชั้น    6.2 กิจกรรมวัดและประเมินผล

7. โครงการวันสำคัญและขนบธรรมเนียมประเพณี

กิจกรรมะรรมน

    7.1 กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา 7.2 กิจกรรมเนื่องในวันสำคัญทางสถาบันพระมหากษัตริย์  7.3 กิจกรรมวันไหว้ครู 

    7.4 กิจกรรมวันสุนทรภู่และวันภาษาไทย  7.5 กิจกรรมวันลอยกระทง    7.6 กิจกรรมวันรัฐธรรมนูญ  7.7 กิจกรรมวันเด็ก  7.8 กิจกรรมวันขึ้นปีใหม่

8. โครงการปรับปรุงอาคารสถานที่และภูมิทัศน์

กิจกรรม

    8.1 ปรับปรุงภายในอาคาร   8.2 ปรับปรุงภายนอกอาคาร    8.3 ปรับปรุงภูมิทัศน์/ป้ายประชาสัมพันธ์

    8.4 ปรับปรุงระบบน้ำประปา    8.5จัดซื้ออุปกรณ์เครื่องใช้ภายในโรงเรียน

9. โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและสาระการเรียนท้องถิ่น

กิจกรรม

    9.1การจัดทำหลักสูตร

10. โครงการค่าใช้จ่ายระบบสาธารณูปโภค

กิจกรรม

    10.1 สำรวจค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภค  ค่าไฟฟ้า ค่าน้ำประปา   10.2 ประมาณการค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคที่จะใช้ในปี การศึกษา 2563

    10.3 ดำเนินการจ่ายค่าสาธารณูปโภคตามใบแจ้งหนี้ของแต่ละเดือน    

11. โครงการกิจกรรมนักเรียน

กิจกรรม

    11.1 การเยี่ยมบ้านนักเรียน   11.2 ติดตามนักเรียนมีแนวโน้มออกกลางคัน  11.3 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน    

    11.4 กิจกรรมสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน  11.5 งานเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา   11.6 การดำเนินงานธุรการ   11.7 งานกิจการนักเรียน

    11.8 การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา  11.9 การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน 11.10 การจัดทำสำมะโนนักเรียน  11.11 การรับนักเรียน

12. โครงการทักษะชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม

    12.1 กิจกรรมปลูกผักสวนครัวรอบรั้วโรงเรียนและแปรรูปอาหาร  12.2 กิจกรรมตลาดนัดพอเพียง    12.3 กิจกรรมคัดแยกขยะ     

13. โครงการประกันคุณภาพการศึกษา

กิจกรรม

    13.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

   13.2 จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน

 

14โครงการพัฒนางานกลุ่มบริหารงบประมาณ

กิจกรรม

    14.1 งานการเงิน   14.2 งานบัญชี  14.3 งานพัสดุและสินทรัพย์  14.4 งานระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา  14.5 การตรวจสอบภายใน

15. โครงการส่งเสริมนโยบายตามมาตรการ

กิจกรรม

          15.1 กิจกรรมส่งเสริมค่านิยม12ประการ  15.2 การให้บริการInternet(ตามนโยบายโรงเรียนประชารัฐ)  15.3 กิจกรรมยุวเกษตร

          15.4 กิจกรรมประหยัดน้ำ  ประหยัดพลังงาน    15.5 กิจกรรมป้องกันการติดเชื้อโควิด-19

16. โครงการการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

กิจกรรม

    16.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อใช้ประกาศในงานประกันคุณภาพการศึกษา

    16.2 กำหนดขอบข่ายในการจัดทำแผนพัฒนา และดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา 16.3 จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่อิงแผนพัฒนาการศึกษา

  16.4 ส่งเสริม และสนับสนุนให้ครู นักเรียน และบุคลากรในสถานศึกษาได้เข้าร่วมพัฒนาตนเองในกิจกรรมที่ส่งเสริมความรู้จากหน่วยงานต้นสังกัดและจากหน่วยงานอื่นตามความเหมาะสมหรือสมัครใจ

    16.5 ส่งเสริม และสนันสนุนให้ครูมีการพัฒนาตนเองให้มีวิทยะฐานะที่สูงขี้น

    16.6 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน และจัดทำหรือซื้อสื่อการสอน

    16.7 บริหารการจัดทำข้อมูลระบบสารสนเทศโดยใช้เทคโนโลยีของงานทั้ง 4 งานอย่างเป็นระบบ ถูกต้องครบถ้วน และนำไปใช้ได้ทันตามความต้องการ

    16.8 สนับสนุนให้ครูสร้างเครื่องมือในการวัด และประเมินผลในระดับประถม   16.9 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียน

    16.10 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียน    16.11 การเยี่ยมบ้านนักเรียน   16.12 จัดทำระบบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน

    16.13 เสริมสร้างและบำรุงขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานให้กับบุคลากรในสถานศึกษา เช่น ศึกษาดูงาน พิจารณาความดีความชอบ

    16.14 แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล  16.15 จัดประชุมชี้แจงผลการประเมินเพื่อนำข้อมูลมาปรับปรุงและสรุปรายงานผล

17. โครงการประชุมสัมมนาคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

กิจกรรม

    17.1 จัดประชุมสัมมนาตามวาระที่ปฏิบัติงาน

18. โครงการอาหารกลางวัน

กิจกรรม

    18.1 กิจกรรมการจัดเมนูอาหารตามโปรแกรม Thai School Lunch     18.2กิจกรรมอาหารเสริมนม

19. โครงการโรงเรียนประชารัฐ

กิจกรรม

    19.1 กิจกรรมเลี้ยงไก่ไข่


 


 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

1.1 ข้อมูลทั่วไป

โรงเรียนวัดเกาะขวาง ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ที่ 1 ตำบลเกาะขวาง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี รหัสไปรษณีย์ 22000สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6


1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา
1) จำนวนบุคลากร 13 คน ผู้บริหารจำนวน 1 คน ครูผู้สอน 10 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน ลูกจ้างประจำ1 คน ตามการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2563

1.3 ข้อมูลนักเรียน
จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2563รวมทั้งสิ้น 125 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 31กรกฎาคม พ.ศ. 2563)
การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

วิสัยทัศน์ (Vision)
ภายในปีการศึกษา2563 นักเรียนโรงเรียนวัดเกาะขวาง "มุ่งสู่การพัฒนาทางวิชาการ คุณภาพการศึกษามีมาตรฐาน ก้าวทันเทคโนโลยี มีความรู้ คู่คุณธรรม บนพื้นฐานความเป็นไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

คำขวัญประจำโรงเรียน (Motto)
รู้รักสามัคคี เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม

ปรัชญาโรงเรียน
การศึกษาสร้างคน สร้างงาน สร้างชาติ

อัตลักษณ์โรงเรียนวัดเกาะขวาง (Identity of school)
รักความเป็นไทย มีวิถีชีวิตแบบพอเพียง

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา (Uniqueness of school)
กีฬาตะกร้อ (มีการจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น วิชาตะกร้อ โดยมีวิทยากรท้องถิ่นเป็นผู้สอนและให้นักเรียนได้รู้จักอนุรักษ์กีฬาของไทยให้อยู่คู่กับโรงเรียนให้นานเท่านาน)

เป้าประสงค์
นักเรียนระดับปฐมวัยจะต้องมีมาตรฐานคุณภาพเด็กอยู่ในระดับ ดี และนักเรียนระดับขั้นพื้นฐานต้องมีมาตรฐานคุณภาพผู้เรียนอยู่ในระดับ ดีเลิศ มีความรู้ด้านเทคโนโลยี มีคุณธรรม บนพื้นฐานความเป็นไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และโรงเรียนผ่านการประเมินทั้ง 3 มาตรฐานของระดับปฐมวัยอยู่ในระดับดี และระดับขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับ ดีเลิศ
ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 10 0 0 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

เพื่อให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) จัดกิจกรรมที่พัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของระดับปฐมวัยและระดับขั้นพื้นฐาน จึงมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย และหลักสูตรการศึกษาสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ เป็นไปตามเป้าหมายของท้องถิ่นและเอกลักษณ์ของโรงเรียน ด้านการกีฬาโรงเรียนได้จัดทำหลักสูตรตะกร้อ และได้จ้างวิทยากรท้องถิ่นมาเป็นผู้สอน เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านกีฬาที่เป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียนและชุมชน จากการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนทำให้โรงเรียนมีมาตรฐานคุณภาพการศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นอยู่ในเกณฑ์ระดับคุณภาพ ดีเลิศ และมีความสามารถด้านกีฬาเซปักตะกร้อ ซึ่งเป็นอัตลักษณ์ของโรงเรียนและเป็นการอนุรักษ์กีฬาของท้องถิ่น โดยมีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดีเลิศ

ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)


หลักฐานอ้างอิง : https://drive.google.com/file/d/14TPdrKusJ2yBy6zV4l5z10KsLOrVi1Su/view?usp=sharing
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้ภายใน

สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

1. ห้องสมุด

220

2. โรงอาหาร

200

3. โรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่

100

4. สนามเด็กเล่น

220

 

 

 

 


แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน       


แหล่งเรียนรู้ภายนอก

สถิติการใช้
จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

1.  วัดเกาะขวาง

20

2.  วิหารองค์หลวงพ่อใหญ่

5

3.  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะขวาง

2

4.  อู่ต่อเรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

2

5.  เทศบาลตำบลเกาะขวาง

2

6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

1

7. Oasis Sea World

1

 


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
โดยมีกระบวนการพัฒนาและผลการดำเนินงานในแต่ละมาตรฐาน ดังต่อไปนี้ มีการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาระดับปฐมวัยที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ตามโครงการพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยให้เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อมเน้นการเรียนรู้ผ่านการ เล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น กิจกรรมบูรณาการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน ส่งผลให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยที่มี ความยืดหยุ่น เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนและชุมชน นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้าน การจัดประสบการณ์โดยโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้มีการพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการ ออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ตามโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ส่งผลให้ครูโรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย รวมทั้งโรงเรียนได้ส่งเสริมให้มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ พอเพียง มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อ เทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ จากโครงการพัฒนาส่งเสริมศักยภาพทักษะพื้นฐานปฐมวัย ส่งผลให้โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) มีการจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียงการให้บริการสื่อเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวก ให้บริการด้าน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง และโรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนดได้มี การจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผล ตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ผลการดำเนินงาน  

ผลการดำเนินการในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ

ประเด็นที่ 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

1.1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัย

ตารางจำนวนผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐาน จำแนกตามระดับชั้นเรียน

1.2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการพัฒนาเด็ก โดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ได้ดำเนินการประเมินสมรรถภาพทางร่างกาย ประเมินพัฒนาการผู้เรียน  จัดกิจกรรมกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกีฬาหนูน้อย กิจกรรมสุขภาพดีมีสุข 

 

2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

          2.1 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ และมีแผนการจัดประสบการณที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ให้เด็กในแต่ละวัย อย่างเหมาะสม ความภาคภูมิใจในด้านการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน การมีโอกาสได้รับความรู้สึก ความสนใจและความต้องการของตนเองและผู้อื่น ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการของแต่ละคนตามศักยภาพ

2.2 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

               การดำเนินการให้เด็กชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว               โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ  โดยพัฒนาแต่ละคนตามศักยภาพ การสร้างผลงานตามความคิดสร้างสรรค์ ตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มีการนำเสนอผลงานที่หลากหลาย เด็กทุกคนชื่นชมและภาคภูมิใจในชิ้นงาน โรงเรียนมีการพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจโดยกำหนดโครงการ / กิจกรรม เพื่อพัฒนา ได้แก่ กิจกรรมเสริมประสบการณ์

2.3 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม

          กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

               การดำเนินการให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม โรงเรียนวัดเกาะขวาง          (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการด้วยการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่  การสวดมนต์ นั่งสมาธิ  กิจกรรมวันสำคัญ  กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์  ข้อตกลงของเรา  วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี  

3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

          3.1 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง         โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม และการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่  การสวดมนต์ นั่งสมาธิ  กิจกรรมวันสำคัญ  กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์  ข้อตกลงของเรา  วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี  

 

3.2 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง         โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม และการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่  การสวดมนต์ นั่งสมาธิ  กิจกรรมวันสำคัญ  กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมโลกสวยด้วยมือเรา ข้อตกลงของเรา วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี   

 

3.3 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

          การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง         โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ  กิจกรรมวันสำคัญ  กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์  ข้อตกลงของเรา  วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี  

 

        ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนา

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้เด็กอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างต่อเนื่อง

 

4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

          4.1 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

               การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน กิจกรรมหนูน้อยคนเก่ง  บันทึกการมาเรียน คณิตคิดสนุก นักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมบัณฑิตน้อย กิจกรรมกีฬาหนูน้อย กิจกรรมหนูน้อยทำดี  กิจกรรมหนูรักภาษาไทย  ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ และกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพเด็กสู่ความเป็นเลิศ

          4.2 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง       (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา  โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ตามสาระ ที่ควรรู้ในหลักสูตร ได้แก่  ตัวเด็ก บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก      ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก       ตามประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้รับตามบริบทของครอบครัวและชุมชน

          4.3 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ โรงเรียนวัดเกาะขวาง                    (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา  กิจกรรมสร้างสรรค์  จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กถ่ายทอดความคิดตามจินตนาการผ่านการเคลื่อนไหวและสร้างสรรค์ผลงานที่มีรายละเอียดมีความแปลกใหม่และหลากหลายเหมาะสมกับวัย        

          4.4 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย

                   กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้

เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา ส่งเสริมให้เด็กมีลักษณะพฤติกรรมสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว  ซักถามอย่างตั้งใจรักการเรียนรู้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ         ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย  มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์        รวมทั้งมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1yHLpwExTJSvSs72R2Nfj8j3yu_MV5Udh/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา  
1. มีหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่คลอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นำมาสู่การปฏิบัติในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้ และ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สามารถพัฒนาเด็กได้อย่างอย่างเต็มศักยภาพ

2. มีครูที่จบการศึกษาปฐมวัยเพียงพอครบชั้นเรียน มีครูทุกห้องเรียน

3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ และการนำนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนา เด็ก เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการทดลองตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ทฤษฎี การสอนรูปแบบการสอน Project Approach และ STEM

4. จัดสภาพแวดล้อมได้อย่างปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ มีสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอ จัดหา แหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมีคุณภาพ

5. ให้บริการอำนวยความสะดวก เครื่องปรับอากาศ และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และห้อง ศูนย์สื่อปฐมวัยต้นแบบ วัสดุ อุปกรณ์เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โปรเจ็กเตอร์เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ และพัฒนาครู โดยจัดทำข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษา ประเมินคุณภาพภายใน จัดทำรายงานประจำปี

6. สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่ สถานศึกษากำหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการระดับปฐมวัย ประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพภายใน ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี นำผลการประเมินไป ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม จัดกิจกรรมเสริมสร้างความ ตระหนักรู้และเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
ผลการดำเนินงาน  

ผลการดำเนินการในกระบวนการบริหารและการจัดการแต่ละประเด็น

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดี

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

                    1. มีหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่คลอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นำมาสู่การปฏิบัติในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้ และ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สามารถพัฒนาเด็กได้อย่างอย่างเต็มศักยภาพ

                    2. มีครูที่จบการศึกษาปฐมวัยเพียงพอครบชั้นเรียน มีครูทุกห้องเรียน

                    3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ และการนำนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนา เด็ก เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการทดลองตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ทฤษฎี การสอนรูปแบบการสอน Project Approach และ STEM

                    4. จัดสภาพแวดล้อมได้อย่างปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ มีสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอ จัดหา แหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมีคุณภาพ

                    5. ให้บริการอำนวยความสะดวก เครื่องปรับอากาศ และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และห้อง ศูนย์สื่อปฐมวัยต้นแบบ วัสดุ อุปกรณ์เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โปรเจ็กเตอร์เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ และพัฒนาครู โดยจัดทำข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษา ประเมินคุณภาพภายใน จัดทำรายงานประจำปี

                 6. สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่ สถานศึกษากำหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการระดับปฐมวัย ประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพภายใน ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี นำผลการประเมินไป ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม จัดกิจกรรมเสริมสร้างความ ตระหนักรู้และเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1yHLpwExTJSvSs72R2Nfj8j3yu_MV5Udh/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา  
1. เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพจากการจัดประสบการณ์พัฒนาอย่างรอบด้าน

2. เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุข ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม เลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจและความสามารถ ตอบสนองต่อ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ สนามกีฬา สวนธรรมชาติ และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน เช่น แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน

3. ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับมุม ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแล ต้นไม้ ครูจัดหาสื่อ Digital ที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจและวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้ สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เข่น เกมการศึกษา บล็อก โดมิโน ภาพตัดต่อ เป็นต้น

 
4. ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก หน่วยการเรียนรู้ และกิจวัตรประจำวันด้วย เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกตพฤติกรรม สังเกตการปฏิบัติงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล การ สัมภาษณ์ ผลงานเด็ก วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของเด็ก
ผลการดำเนินงาน  

ผลการดำเนินการในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญแต่ละประเด็น

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดี

 

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

1. เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพจากการจัดประสบการณ์พัฒนาอย่าง

รอบด้าน

2. เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุข ครูจัดประสบการณ์

ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม เลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจและความสามารถ ตอบสนองต่อ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ สนามกีฬา สวนธรรมชาติ และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน เช่น แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน

3. ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับ

มุม ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแล ต้นไม้ ครูจัดหาสื่อ Digital ที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจและวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้ สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เข่น เกมการศึกษา บล็อก โดมิโน ภาพตัดต่อ เป็นต้น

 

4. ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก หน่วยการเรียนรู้ และกิจวัตร

ประจำวันด้วย เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกตพฤติกรรม สังเกตการปฏิบัติงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล การ สัมภาษณ์ ผลงานเด็ก วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของเด็ก

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1yHLpwExTJSvSs72R2Nfj8j3yu_MV5Udh/view?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

t คุณภาพของเด็ก

    โรงเรียนจัดกิจกรรม/โครงการ ส่งเสริมการเรียน การสอน และกิจกรรมเสริมประสบการณ์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ทำให้เด็กปฐมวัยมีความพร้อมในด้านทักษะ พื้นฐานตามพัฒนาการทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญาสมวัยและมีความรู้พื้นฐานตาม หลักสูตรกำหนด เด็กมีความพร้อมในการศึกษาต่อในขั้นต่อไป จัดให้มีโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมและ ปลูกฝังคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ กิจกรรมรักการออม กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมสมาธิสร้างปัญญา  โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย  โครงการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของ สถานศึกษาให้บรรลุตาม ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และตามจุดเน้น จุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นอัตลักษณ์ ของเด็ก และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

t กระบวนการบริหารและการจัดการ

1. โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ มีการจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ ตรง

2. โครงการคาราวานการศึกษาปฐมวัย โดยสร้างการมีส่วนร่วมและการสร้างเครือข่ายการ เรียนรู้กับชุมชน และโรงเรียนอื่น

3. สถานศึกษามีสร้างแหล่งเรียนรู้เพื่อ พัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคคลากรในการศึกษา

t การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

   ครูสามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ หลากหลาย เช่น การจัดประสบการณ์ตามแผนการ สอนที่เน้น 6 กิจกรรมหลัก กิจกรรมคุณธรรม กิจกรรม ICT วิชาการ ทัศนศึกษา กีฬา/กรีฑากิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการ ของเด็ก ใช้เครื่องมือการวัดและประเมินผล พัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย ใช้ผลการ ประเมินในการปรับการจัดประสบการณ์ จัด สิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ผู้บริหาร ส่งเสริมให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการ พัฒนาสถานศึกษา มีการจัดสิ่งแวดล้อมและ บรรยากาศ สะอาด ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ และสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการ เพื่อรักษา มาตรฐานตามข้อเสนอแนะของ สมศ. เด็กปฐมวัยเข้า ร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบอย่าง เหมาะสม
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการดำเนินการในมาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ในภาพรวม อยู่ในระดับ ดีเลิศ

ประเด็นที่ 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

1.1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัย

ตารางจำนวนผู้เรียนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต ที่ดีตามเกณฑ์มาตรฐาน จำแนกตามระดับชั้นเรียน

1.2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรง ใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการพัฒนาเด็ก โดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ได้ดำเนินการประเมินสมรรถภาพทางร่างกาย ประเมินพัฒนาการผู้เรียน จัดกิจกรรมกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกีฬาหนูน้อย กิจกรรมสุขภาพดีมีสุข

 

2. มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้

2.1 มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ และมีแผนการจัดประสบการณที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ให้เด็กในแต่ละวัย อย่างเหมาะสม ความภาคภูมิใจในด้านการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน การมีโอกาสได้รับความรู้สึก ความสนใจและความต้องการของตนเองและผู้อื่น ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการของแต่ละคนตามศักยภาพ

2.2 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโดยจัดทำโครงการเด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ โดยพัฒนาแต่ละคนตามศักยภาพ การสร้างผลงานตามความคิดสร้างสรรค์ ตอบสนองต่อศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว มีการนำเสนอผลงานที่หลากหลาย เด็กทุกคนชื่นชมและภาคภูมิใจในชิ้นงาน โรงเรียนมีการพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจโดยกำหนดโครงการ / กิจกรรม เพื่อพัฒนา ได้แก่ กิจกรรมเสริมประสบการณ์

2.3 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตใจที่ดีงาม โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการด้วยการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์ ข้อตกลงของเรา วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี

3. มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

3.1 มีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม และการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์ ข้อตกลงของเรา วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี

 

3.2 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และความเป็นไทย

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม และการจัดกิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมโลกสวยด้วยมือเรา ข้อตกลงของเรา วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี

 

3.3 อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีทักษะชีวิตและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินโครงการพัฒนาด้านสังคม กิจกรรมยิ้มไหว้ทักทาย กิจกรรมน้องไหว้พี่ การสวดมนต์ นั่งสมาธิ กิจกรรมวันสำคัญ กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมออมทรัพย์ ข้อตกลงของเรา วันไหว้ครู วันสำคัญทางศาสนาและประเพณี

 

ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนา

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาให้เด็กอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อย่างต่อเนื่อง

 

4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

4.1 ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา กิจกรรมหนูน้อยรักการอ่าน กิจกรรมหนูน้อยคนเก่ง บันทึกการมาเรียน คณิตคิดสนุก นักวิทยาศาสตร์น้อย กิจกรรมบัณฑิตน้อย กิจกรรมกีฬาหนูน้อย กิจกรรมหนูน้อยทำดี กิจกรรมหนูรักภาษาไทย ทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ และกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพเด็กสู่ความเป็นเลิศ

4.2 มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีพัฒนาการใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ส่งเสริมให้เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ตามสาระ ที่ควรรู้ในหลักสูตร ได้แก่ ตัวเด็ก บุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก ตามประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้รับตามบริบทของครอบครัวและชุมชน

4.3 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา กิจกรรมสร้างสรรค์ จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กถ่ายทอดความคิดตามจินตนาการผ่านการเคลื่อนไหวและสร้างสรรค์ผลงานที่มีรายละเอียดมีความแปลกใหม่และหลากหลายเหมาะสมกับวัย

4.4 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

การดำเนินการให้เด็กมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้

เหมาะสมกับวัย โรงเรียนวัดเกาะขวาง (สังวาลย์ราษฎร์รังสรรค์) ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนาด้านสติปัญญา ส่งเสริมให้เด็กมีลักษณะพฤติกรรมสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจรักการเรียนรู้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ รวมทั้งมีจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์


มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ อยู่ในระดับ ดี

ผลการดำเนินการในกระบวนการบริหารและการจัดการแต่ละประเด็น

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดี

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

1. มีหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยที่คลอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น นำมาสู่การปฏิบัติในห้องเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้ และ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย สามารถพัฒนาเด็กได้อย่างอย่างเต็มศักยภาพ

2. มีครูที่จบการศึกษาปฐมวัยเพียงพอครบชั้นเรียน มีครูทุกห้องเรียน

3. ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ และการนำนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนา เด็ก เช่น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมการทดลองตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ทฤษฎี การสอนรูปแบบการสอน Project Approach และ STEM

4. จัดสภาพแวดล้อมได้อย่างปลอดภัย เอื้อต่อการเรียนรู้ มีสื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างเพียงพอ จัดหา แหล่งเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างมีคุณภาพ

5. ให้บริการอำนวยความสะดวก เครื่องปรับอากาศ และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และห้อง ศูนย์สื่อปฐมวัยต้นแบบ วัสดุ อุปกรณ์เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โปรเจ็กเตอร์เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์ และพัฒนาครู โดยจัดทำข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศเพื่อการบริหาร จัดทำ แผนพัฒนาการศึกษา ประเมินคุณภาพภายใน จัดทำรายงานประจำปี

6. สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่ สถานศึกษากำหนด จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการระดับปฐมวัย ประเมินผลและตรวจสอบ คุณภาพภายใน ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี นำผลการประเมินไป ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม จัดกิจกรรมเสริมสร้างความ ตระหนักรู้และเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย

 

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ อยู่ในระดับ ดี

ผลการดำเนินการในการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญแต่ละประเด็น

ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ ดี

 

กระบวนการดำเนินงานหรือรูปแบบการดำเนินงาน

1. เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพจากการจัดประสบการณ์พัฒนาอย่าง

รอบด้าน

2. เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีความสุข ครูจัดประสบการณ์

ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม เลือกทำกิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจและความสามารถ ตอบสนองต่อ วิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบจากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องวิทยาศาสตร์ ห้องคอมพิวเตอร์ สนามกีฬา สวนธรรมชาติ และแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน เช่น แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน

3. ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพื้นที่แสดงผลงานเด็ก พื้นที่สำหรับ

มุม ประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแล ต้นไม้ ครูจัดหาสื่อ Digital ที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจและวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้ สื่อของเล่นที่กระตุ้นให้คิดและหาคำตอบ เข่น เกมการศึกษา บล็อก โดมิโน ภาพตัดต่อ เป็นต้น

 

4. ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก หน่วยการเรียนรู้ และกิจวัตร

ประจำวันด้วย เครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกตพฤติกรรม สังเกตการปฏิบัติงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล การ สัมภาษณ์ ผลงานเด็ก วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง และนำผลการประเมินที่ได้ไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของเด็ก
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1yHLpwExTJSvSs72R2Nfj8j3yu_MV5Udh/view?usp=sharing
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

1.1.1ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 69.50 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 4.50 (+ 4.50) ผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถทางด้านการอ่านเขียน สื่อสารภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 66.33 สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 6.33 (+6.33) และผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถทางด้านในการคิดคำนวณคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 68.90 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 8.90 (+ 8.90)
1.1.2 นักเรียนมีผลการประเมินความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 10.89 (+10.89)

1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมผู้เรียนมีทักษะในการผลิตสื่อ นวัตกรรม โดยสามารถผลิตสื่อด้วยตนเอง และนำความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนผลิตสื่ออย่างน้อยคนละ 2 ชิ้นต่อภาคเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ คิดเป็นร้อยละ94.83 ของนักเรียนทั้งหมด (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6)
1.1.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นจากเดิม และมีทักษะการใช้เทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนหาความรู้และความบันเทิง โดยเฉพาะการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ คิดเป็นร้อยละ 94.83 ของนักเรียนทั้งหมด (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6)

1.1.5ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในระดับดีขึ้นไปสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้22.2 (+22.2)

1.1.6 มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถพิเศษ มีทักษะอาชีพทางการเกษตรกรรมซึ่งสามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนสามารถนำไปประกอบอาชีพที่สุจริตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.1.7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการทดสอบระดับชาติ
ผลสัมฤทธิ์ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับของประเทศร้อยละ5.62

1.1.8 ผู้เรียนมีคสามสามารถด้านเซปักตะกร้อ
นักกีฬาเซปักตะกร้อของโรงเรียนได้เข้าร่วมการแข่งขันในงานมหกรรมกีฬานักเรียน นักศึกษา ประชาชน ของจังหวัดจันทบุรี ประจำปี 2564 ประเภท การแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปี หญิง ได้รับรางวัลชนะเลิศเหรียญทอง

 

ผลการดำเนินงาน  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน

1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

1.1.1ผู้เรียนมีการพัฒนาด้านความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทย คะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 69.50 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 4.50 (+ 4.50) ผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถทางด้านการอ่านเขียน สื่อสารภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 66.33 สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 6.33 (+6.33) และผู้เรียนมีผลการประเมินความสามารถทางด้านในการคิดคำนวณคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 68.90 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ 8.90 (+ 8.90)
1.1.2 นักเรียนมีผลการประเมินความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา สูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 10.89 (+10.89)

1.1.3 มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมผู้เรียนมีทักษะในการผลิตสื่อ นวัตกรรม โดยสามารถผลิตสื่อด้วยตนเอง และนำความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนผลิตสื่ออย่างน้อยคนละ 2 ชิ้นต่อภาคเรียนเพื่อเสริมสร้างความรู้ คิดเป็นร้อยละ94.83 ของนักเรียนทั้งหมด (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6)
1.1.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นจากเดิม และมีทักษะการใช้เทคโนโลยี ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนหาความรู้และความบันเทิง โดยเฉพาะการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ คิดเป็นร้อยละ 94.83 ของนักเรียนทั้งหมด (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6)

1.1.5ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาในระดับดีขึ้นไปสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้22.2 (+22.2)

1.1.6 มีความรู้ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ
ผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถพิเศษ มีทักษะอาชีพทางการเกษตรกรรมซึ่งสามารถนำความรู้และทักษะไปใช้ในชีวิตประจำวันตลอดจนสามารถนำไปประกอบอาชีพที่สุจริตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1.1.7 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการทดสอบระดับชาติ
ผลสัมฤทธิ์ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2563 คะแนนเฉลี่ยสูงขึ้นกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับของประเทศร้อยละ5.62

1.1.8 ผู้เรียนมีคสามสามารถด้านเซปักตะกร้อ
นักกีฬาเซปักตะกร้อของโรงเรียนได้เข้าร่วมการแข่งขันในงานมหกรรมกีฬานักเรียน นักศึกษา ประชาชน ของจังหวัดจันทบุรี ประจำปี 2564 ประเภท การแข่งขันกีฬาเซปักตะกร้อ รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปี หญิง ได้รับรางวัลชนะเลิศเหรียญทอง
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

1.2.1 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้เรียนที่ดีมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยม12 ประการ เป็นไปตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนดเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ94.78 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดเฉลี่ย 19.78

1.2.2 มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ผู้เรียนเห็นความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดอย่างภาคภูมิใจอย่างต่อเนื่อง

1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการอยู่ร่วมกัน เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น และปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันในสังคม ชุมชน ได้สันติสุข

1.2.4 มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายที่แข็งแรงเป็นไปตามวัย ตามเป้าหมายของโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ในระดับคุณภาพดี เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 94.78 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 19.78 (+19.78)
ผลการดำเนินงาน  
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

1.2.1 มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด
ผู้เรียนปฏิบัติตนเป็นผู้เรียนที่ดีมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และค่านิยม12 ประการ เป็นไปตามที่หลักสูตรสถานศึกษากำหนดเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ94.78 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดเฉลี่ย 19.78

1.2.2 มีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ผู้เรียนเห็นความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดอย่างภาคภูมิใจอย่างต่อเนื่อง

1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ในการปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องในการอยู่ร่วมกัน เคารพสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น และปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันในสังคม ชุมชน ได้สันติสุข

1.2.4 มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
ผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกายที่แข็งแรงเป็นไปตามวัย ตามเป้าหมายของโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์ในระดับคุณภาพดี เฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 94.78 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่โรงเรียนตั้งไว้ 19.78 (+19.78)
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ หลักสูตรสถานศึกษา แผนประจำปี แผนกลยุทธ์ 3 ปี ตรงกับวัตถุประสงค์กับแผนการศึกษาแห่งชาติ ตามนโยบายของรัฐบาล ของต้นสังกัดที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้บริหารมีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ มีคณะทำงานที่รับผิดชอบงานชัดเจนเป็นปัจจุบัน ทั้งงานประจำชั้น งานพิเศษตามนโยบาย มีแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนครอบคุ้มตามวัตถุประสงค์ที่โรงเรียนตั้งไว้ และติดตามตรวจสอบรายงานผลให้หน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ

2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา ที่ปรับปรุงมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561 มีหลักสูตรท้องถิ่น รายวิชาเพิ่มเติม และชุมนุมที่เหมาะสมสอดคล้องกับท้องถิ่น

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูและบุคลากร เข้ารับการอบรมและพัฒนาความรู้ทางวิชาการ ในรูปแบบ Platform Online ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และหน่วยงานอื่น ๆ เช่น บริษัทอักษรเจริญทัศน์ (อจท.),สถานบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่น ๆ และนำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาจัดการเรียนรู้ ทำให้ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียน มีแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน เช่น แปลงเกษตร เล้าไก่ไข่ สนามกีฬาตะกร้อ สนามฟุตบอล สนามเด็กเล่น สวนไม้ผลเป็นต้น

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพิ่มเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกอาคารเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น และมี Printer ใช้ในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอน
 
ผลการดำเนินงาน  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ
2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ หลักสูตรสถานศึกษา แผนประจำปี แผนกลยุทธ์ 3 ปี ตรงกับวัตถุประสงค์กับแผนการศึกษาแห่งชาติ ตามนโยบายของรัฐบาล ของต้นสังกัดที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน

2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้บริหารมีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ มีคณะทำงานที่รับผิดชอบงานชัดเจนเป็นปัจจุบัน ทั้งงานประจำชั้น งานพิเศษตามนโยบาย มีแผนปฏิบัติงานที่ชัดเจนครอบคุ้มตามวัตถุประสงค์ที่โรงเรียนตั้งไว้ และติดตามตรวจสอบรายงานผลให้หน่วยงานต้นสังกัด ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ

2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษา ที่ปรับปรุงมาตรฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561 มีหลักสูตรท้องถิ่น รายวิชาเพิ่มเติม และชุมนุมที่เหมาะสมสอดคล้องกับท้องถิ่น

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูและบุคลากร เข้ารับการอบรมและพัฒนาความรู้ทางวิชาการ ในรูปแบบ Platform Online ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 และหน่วยงานอื่น ๆ เช่น บริษัทอักษรเจริญทัศน์ (อจท.),สถานบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.), สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่น ๆ และนำความรู้ที่ได้จากการอบรมมาจัดการเรียนรู้ ทำให้ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียน มีแหล่งเรียนรู้ภายในสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน เช่น แปลงเกษตร เล้าไก่ไข่ สนามกีฬาตะกร้อ สนามฟุตบอล สนามเด็กเล่น สวนไม้ผลเป็นต้น

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพิ่มเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้ครอบคลุมทุกอาคารเรียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น และมี Printer ใช้ในการส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

3.1 การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
จากการจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
ใช้ในชีวิตได้ และส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในชีวิตผ่านกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และนักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อหญิง รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปี ในงานมหกรรมกีฬานักเรียน นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ซึ่งผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพต่อไปได้

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการพัฒนา
ครูมีการใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย สื่อทางด้านเทคโนโลยี สื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในโรงเรียนและชุมชน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง จึงทำให้ผู้เรียนมีความรู้ที่หลากหลายทำให้ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

3.3 มีการบริหารจัดการผู้เรียนเชิงบวก ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ครูมีการจัดการเรียนการสอนในเชิงบวกโดยมีการแสดงความรักต่อกันทั้งครูและนักเรียน มีกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน 100% มีการมอบทุนการศึกษา มอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ชนะในการประกวดกิจกรรมที่สถานศึกษาและจากหน่วยงานอื่นที่จัดขึ้น นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเด่นของแต่ละชั้น และผลการสอบ NT,O-NET สูงสุด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้นักเรียน ทำให้นักเรียนกล้าแสดงออกและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มใจ มีความภาคภูมิใจ มีความสุข

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้เรียนมีมาตรฐานการศึกษาตามที่หลักสูตรกำหนด ตามเป้าหมายทีสถานศึกษาตั้งเป้าไว้ มีการพิจารณาในการเลื่อนชั้นโดยใช้เกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรและแบบประเมินตามนโยบายของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบระดับชาติ (O-Net) สูงกว่าคะแนนในระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ทำให้ผู้ปกครองเกิดความเชื่อมั่นทางการศึกษามากขึ้นจึงมีการสนับสนุนให้ผู้เรียนเข้ารับการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาทุกคน คิดเป็น 100%

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีการปฏิบัติงานโดยผ่านกระบวนการPLC ทำให้ครูแก้ไขปัญหาที่พบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ผลการดำเนินงาน  
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

3.1 การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
จากการจัดประสบการณ์ให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
ใช้ในชีวิตได้ และส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนดีขึ้น นักเรียนมีภูมิคุ้มกันในชีวิตผ่านกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และนักเรียนได้รับรางวัลชนะเลิศกีฬาเซปักตะกร้อหญิง รุ่นอายุไม่เกิน 12 ปี ในงานมหกรรมกีฬานักเรียน นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ซึ่งผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพต่อไปได้

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการพัฒนา
ครูมีการใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย สื่อทางด้านเทคโนโลยี สื่อจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในโรงเรียนและชุมชน ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง จึงทำให้ผู้เรียนมีความรู้ที่หลากหลายทำให้ผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น

3.3 มีการบริหารจัดการผู้เรียนเชิงบวก ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ครูมีการจัดการเรียนการสอนในเชิงบวกโดยมีการแสดงความรักต่อกันทั้งครูและนักเรียน มีกิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน 100% มีการมอบทุนการศึกษา มอบรางวัลให้กับนักเรียนที่ชนะในการประกวดกิจกรรมที่สถานศึกษาและจากหน่วยงานอื่นที่จัดขึ้น นักเรียนที่มีผลการเรียนดีเด่นของแต่ละชั้น และผลการสอบ NT,O-NET สูงสุด เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจให้นักเรียน ทำให้นักเรียนกล้าแสดงออกและเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มใจ มีความภาคภูมิใจ มีความสุข

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ระดับคุณภาพดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ผู้เรียนมีมาตรฐานการศึกษาตามที่หลักสูตรกำหนด ตามเป้าหมายทีสถานศึกษาตั้งเป้าไว้ มีการพิจารณาในการเลื่อนชั้นโดยใช้เกณฑ์การประเมินตามหลักสูตรและแบบประเมินตามนโยบายของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบระดับชาติ (O-Net) สูงกว่าคะแนนในระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ ทำให้ผู้ปกครองเกิดความเชื่อมั่นทางการศึกษามากขึ้นจึงมีการสนับสนุนให้ผู้เรียนเข้ารับการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาทุกคน คิดเป็น 100%

3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
ผลการดำเนินงาน
ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีการปฏิบัติงานโดยผ่านกระบวนการPLC ทำให้ครูแก้ไขปัญหาที่พบและสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จุดเด่น จุดควรพัฒนา
1. ด้านคุณภาพผู้เรียน


1. ด้านคุณภาพผู้เรียน
1.ผู้เรียนขาดทักษะการอ่านและการเขียนคำที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่กับการอ่านคำที่มีสระผสมในวิชาภาษาไทย
2.ผู้เรียนขาดทักษะการอ่านและการเขียนคำศัพท์ในวิชาภาษาอังกฤษ
3.ผู้เรียนขาดทักษะการคิดคำนวณและการโจทย์ปัญหา

2. กระบวนการบริหารและการจัดการ


2. กระบวนการบริหารและการจัดการ
1. โรงเรียนขาดบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และครู ประจำชั้นประถมศึกษาปีที่4 ในภาคเรียนที่ 2
2. ผู้เรียนขาดครูผู้สอนทำให้การเรียนไม่ต่อเนื่องสาเหตุเนื่องมาจากครูอัตราจ้างเอกคณิตศาสตร์ได้รับการบรรจุ และพนักงานราชการที่เป็นครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่4 ถูกเกลี่ยอัตรากำลัง

3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 เนื่องจากขาดครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและครูแต่ละคนมีทักษะในการสอนบางวิชาไม่เหมือนกันเนื่องจากไม่ได้รับผิดชอบในระดับชั้นที่ต้องสอนจึงทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ไม่ดีเท่าที่ควร


 
 
แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น
.จัดกิจกรรมภาษาไทยเสริมในทุกระดับชั้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทั้งการอ่าน การเขียนให้ดีขึ้น
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จุดเด่น จุดควรพัฒนา
1. ด้านคุณภาพผู้เรียน


1. ด้านคุณภาพผู้เรียน
1.ผู้เรียนขาดทักษะการอ่านและการเขียนคำที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงแม่กับการอ่านคำที่มีสระผสมในวิชาภาษาไทย
2.ผู้เรียนขาดทักษะการอ่านและการเขียนคำศัพท์ในวิชาภาษาอังกฤษ
3.ผู้เรียนขาดทักษะการคิดคำนวณและการโจทย์ปัญหา

2. กระบวนการบริหารและการจัดการ


2. กระบวนการบริหารและการจัดการ
1. โรงเรียนขาดบุคลากรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ และครู ประจำชั้นประถมศึกษาปีที่4 ในภาคเรียนที่ 2
2. ผู้เรียนขาดครูผู้สอนทำให้การเรียนไม่ต่อเนื่องสาเหตุเนื่องมาจากครูอัตราจ้างเอกคณิตศาสตร์ได้รับการบรรจุ และพนักงานราชการที่เป็นครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่4 ถูกเกลี่ยอัตรากำลัง

3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 เนื่องจากขาดครูในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและครูแต่ละคนมีทักษะในการสอนบางวิชาไม่เหมือนกันเนื่องจากไม่ได้รับผิดชอบในระดับชั้นที่ต้องสอนจึงทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ไม่ดีเท่าที่ควร


 
 
แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น
.จัดกิจกรรมภาษาไทยเสริมในทุกระดับชั้น เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนทั้งการอ่าน การเขียนให้ดีขึ้น
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing
 2.3 ภาคผนวก
 https://drive.google.com/file/d/1f5r3vjfkQPhPPhdXPWBQo4rtvk-MLe6K/view?usp=sharing