รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านวังปลา

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

          โรงเรียนบ้านวังปลาจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนได้แก่

๑. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณ

๒. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา

๓. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

๔. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๕. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

๖. มีผลการทดสอบระดับชาติ

๗. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน

ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ดีเลิศ

สรุประดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดีเลิศ









มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ผลการประเมินในภาพรวม  อยู่ในระดับ ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๑คุณภาพของผู้เรียน

๑. ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

๒.๑ วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

โรงเรียนบ้านวังปลาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า "การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนบ้านวังปลา จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน ๒ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ๒) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

๒. ๒ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ สรุปการจัดกิจกรรมต่าง ๆ กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น กิจกรรมแข่งขันศิลปหัตถกรรม กิจกรรมวิชาการ (Head) กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ (Hand) กิจกรรมธรรมะ (Heart) กิจกรรมเพื่อสุขภาพ (Health) กิจกรรมพาน้องเข้าวัด กิจกรรม ๕ส. และอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมห้องเรียนสีขาว กิจกรรมเด็กดีศรีวังปลา กิจกรรมดนตรี-นาฏศิลป์ กิจกรรมแข่งขันกีฬาภายใน กิจกรรมศิลปะกิจกรรมข่าวยามเช้า กิจกรรมหนังสือรักการอ่าน กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก กิจกรรมยอดนักอ่าน กิจกรรมภาษาไทยวันละคำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมผักกางมุ้ง กิจกรรมวันสำคัญ

๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสมมีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย  ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง    การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนต่ำ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป

จัดกิจกรรมด้านการอ่านการเขียน คำนวณให้กับนักเรียนเรียนร่วมเปรียบเทียบความก้าวหน้าและการพัฒนาของนักเรียนเป็นรายบุคคล


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

๑) โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

๒) โครงการพัฒนาวิชาการ

๓) กิจกรรมเด็กดีศรีวังปลา

๔)  โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 

๕)  โครงการเรียนดี  เรียนฟรี ๑๕ปี 

6) โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

7) โครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม

8) โครงการอนามัยโรงเรียน 

9) โครงการวันสำคัญวิถีพุทธ

๑๐) โครงการระบบดูแลช่วยเหลือ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

. ระดับคุณภาพ   ดีเลิศ

. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

         ๒.วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา  เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านวังปลา การดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา  ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน  ในดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน  ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย  เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ  ทางด้านวิชาชีพ  ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา  จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ   และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้านวังปลา 

      ๒.๒  ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

  ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการได้แก่ โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ   ติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผล  และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง  ทรัพยากรทางการศึกษา  และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  มีการนิเทศภายใน  นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร  และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา มีการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มเรียนร่วมด้วย มีการส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน พัฒนาบริการด้านเทคโนโลยี  สารสนเทศ มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม

. จุดเด่นจุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

       โรงเรียนมีเป้าหมาย  วิสัยทัศน์  พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน  สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน  วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ  นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด  ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมพัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน  ตามหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ  ให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ  มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน

 

โรงเรียนควรจัดให้มีอาคารและห้องปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ  ติดตาม  ที่ชัดเจนต่อเนื่อง มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย

 


แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

๑) โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

๒) โครงการพัฒนาวิชาการ

๓) โครงการนิเทศภายใน

4) โครงการพัฒนาบุคลากร

๕)  โครงการบริหารงานงบประมาณ

๖)  โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

๗)  โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

. ระดับคุณภาพ  ดีเลิศ

. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

        .วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

 โรงเรียนบ้านวังปลาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เนื่องจากโรงเรียนบ้านวังปลาเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปัญหาขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก จึงได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV) ซึ่งได้ส่งเสริมให้ครูจัดห้องเรียนให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนไปพร้อมกับครูต้นทางโดยครูผู้สอนมีการสรุปสาระสำคัญร่วมกับนักเรียนและบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งมีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning)  ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา  ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ครูทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งมีผลทำให้ผลการทดสอบระดับชาติในบางวิชาสูงขึ้น

๒.๒  ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

 ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่ หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม บันทึกหลังสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้จาก DLTV การบันทึกการใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกโดยครูมีวิจัยชั้นเรียนและนำผลไปแก้ไขปัญหาจริง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้โดยจัดกิจกรร Openhouse

๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง ควรจัดครูให้ครบชั้น

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

แผนพัฒนาคุณภาพปีต่อไป

1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น

2) การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning

3) การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำ

การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ

4) การพัฒนาบุคลากรโดยส่งเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย

ติดตามผล การนำไปใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

ความต้องการและการช่วยเหลือ

๑. ควรมีการระดมทรัพยกรเพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีความขาดแคลนทุนทรัพย์ เนื่องจากภาวะการ ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนำ (COVID – ๑๙) และเศรษฐกิจของผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้ไม่แน่นอนประกอบกับราคาพืชผลทางการเกษตรในปีนี้ค่อนข้างต่ำ ส่งผลให้ผู้ปกครองหลายท่านได้รับ ความเดือดร้อน

๒. งบประมาณเพื่อซ่อมแซมอาคารสถานที่ และทาสีอาคาร

๓. การจัดอบรม เทคนิคการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นภาษาอังกฤษให้กับคณะครู
 

 


 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

ประวัติโรงเรียนโดยย่อ

โรงเรียนบ้านวังปลา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2524 ตั้งอยู่เลขที่ 39/37 หมู่ที่ 9 ตำบลเขาแก้ว อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีเนื้อที่ 36 ไร่ 3 งาน เปิดทำการสอนในระดับปฐมวัยถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีห้องเรียนทั้งหมด 8 ห้องเรียน ครูทั้งหมด 4คน ผู้บริหารการศึกษา 1คน ครูปฏิบัติการสอน 4 คน ครูอัตราจ้างสอนรายเดือน (สาขาขาดแคลน ตามโครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ)จำนวน 1 คน ลูกจ้างประจำ ตำแหน่ง งานช่างไม้ 4จำนวน 1 คนและเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน

ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม

1.สภาพชุมชนบริเวณรอบๆโรงเรียน มีลักษณะเป็นชนบท มีประชากรประมาณ 400 คน

ประชากรร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ วัดวังปลา อาชีพหลักของชุมชนคือ อาชีพ เกษตรกร สภาพเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน ชุมชนมีความสัมพันธ์กับสถานศึกษาค่อนข้างดี

2.ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จะจบการศึกษาระดับการศึกษาภาคบังคับ อาชีพหลักคือ อาชีพ

เกษตรกรและอาชีพรับจ้าง สภาพเศรษฐกิจค่อนข้างยากจน อาชีพรับจ้าง ทำเกษตรกรรม เช่นปลูกยางพารา สัปปะรด กล้วยและผลไม้ตามฤดูกาล

3.โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียนซึ่งมีตั้งอยู่เลขที่ 39/37 หมู่ที่ 9 ตำบลเขาแก้ว อำเภอ

ท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี ได้รับการสนับสนุนจากชุมชน ผู้นำชุมชนและองค์กรปกครองท้องถิ่น

สภาพปจจุบันของโรงเรียนบ้านวังปลา

ปัจจุบันโรงเรียนมีอาคารเรียน 2 หลัง รวมจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 7 ห้องเรียน มีห้องปฏิบัติการพิเศษต่างๆ ดังนี้

อาคารเรียน 2 หลัง

อาคารเรียน แบบ สปช 102/26 1 หลัง 4 ห้องเรียนและอาคารเรียน แบบ ป.1 ก 1 หลัง 4 ห้องเรียน อาคารเรียนแบบ ป.1 ก 1 หลัง 2 ห้องเรียน

อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.202/2536 1 หลัง

ส้วมแบบ สปช.603/29 ขนาด 4 ที่นั่ง

- ห้องเรียน ห้องโสตทัศนูปกรณ์ ห้องสมุด

-ห้องเรียนปฐมวัย จำนวน 2 ห้อง

-ห้องเรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 5 ห้อง ห้องพยาบาล ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

-ห้องธุรการ

-โรงอาหาร ห้องสมุดบ้านดิน

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนตามโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนบ้านวังปลา เช่น แปลงปลูกผักสวนครัว สถานที่ทำปุ๋ยน้ำชีวภาพ สถานที่ปุ๋ยหมัก โรงเรือนเพาะเห็ด เป็นต้น

แหล่งเรียนรู้และวิทยากรภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการ เช่น ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดจันทบุรี สวนเลี้ยงผึ้ง อำเภอมะขาม การศึกษานอกโรงเรียนอำเภอท่าใหม่ ชมรมเครือข่ายพัฒนาการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 เป็นต้น

ภารกิจของสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านวังปลา จัดการศึกษาในเขตบริการ 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่3 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 9 ตำบลเขาแก้ว อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี โดยจัดการศึกษาเป็น 2 ระดับ คือระดับก่อนประถมศึกษา ( ชั้นอนุบาล 1-3 )และระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภายใต้ขอบข่ายดังนี้

1.การบริหารงานวิชาการ เพื่อให้สามารถพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดผล และประเมินผลได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

2.การบริหารงบประมาณ เพื่อให้มีความคล่องตัวโปร่งใสและตรวจสอบได้ ยึดหลักการบริหารแบบมุ่งเน้นการดำเนินงาน

3.การบริหารงานบุคคล เพื่อให้เป็นตามหลักธรรมาภิบาล บุคลากรในโรงเรียนได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถ มีขวัญกำลังใจ ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติมีความมั่งคงและก้าวหน้าในวิชาชีพ

4.การบริหารงานทั่วไป เพื่อให้งานด้านอื่น สามารถประสานส่งเสริม สนับสนุนให้การจัดการศึกษา

บรรลุเป้าหมายและจุดประสงค์ของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา


1.2.1 จำนวนบุคลากรและวุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ผู้บริหาร 1 คน วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท

ครูผู้สอน 4 คน วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี

ครูอัตราจ้าง 1 คน วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี

เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี

ช่างไม้๔ 1 คน วุฒิการศึกษาสูงสุด ม.6

รวมทั้งหมด 8 คน

1.2.2 สาขาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา

จำนวน (คน)

ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแต่ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์)

1. บริหารการศึกษา

1

0

2. สังคมศึกษา

1

25

3. ปฐมวัย

1

25

4..ประถมศึกษา

1

25

5.อุตสาหกรรมศาสตร์ไฟฟ้า

1

25

6.ภาษาไทย

1

25

รวม

6

25

1.3 ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนักเรียน ปีการศึกษา 2563 รวม 62 คน( ข้อมูล 1 กรกฎาคม 2563 )

ระดับชั้น

เพศ

รวม

จำนวนห้อง

เฉลี่ยต่อห้อง

ชาย

หญิง

อนุบาล 1

3

3

6

1

6

อนุบาล 2

2

4

6

1

6

อนุบาล 3

5

4

9

- -
การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

วิสัยทัศน์โรงเรียนบ้านวังปลา

โรงเรียนบ้านวังปลา จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

 

พันธกิจ

1.จัดการเรียนการสอน   ให้ประชากรวัยเรียนอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติ

2. จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมที่จะเป็นแหล่งเรียนรู้

3. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้กับผู้เรียน

     4.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

      5. จัดการศึกษาโดยการส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน

 

กลยุทธ์โรงเรียนบ้านวังปลา

          กลยุทธ์ที่ 1จัดกิจกรรมการเรียนการสอนและยกระดับคุณภาพ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามเกณฑ์

          กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

          กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

          กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน  ภาคเอกชน และท้องถิ่นในการจัดการศึกษาและสร้างความเข้มแข็งให้โรงเรียน

เป้าประสงค์

          โรงเรียนบ้านวังปลาจัดการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาโดยเน้นให้นักเรียนมีความรู้    มีคุณธรรม  เป็นคนดี  มีปัญญาและสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขบนพื้นฐานความพอเพียงและให้ชุมชนมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา 

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

1.เด็กในวัยเรียนภาคบังคับ ซึ่งอยู่ในเขตบริการได้เข้าเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ ร้อยละ 100

2.นักเรียนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

3.นักเรียนทุกคนได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจนจบการศึกษาโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

จุดเน้น

1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 3 ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๖

2.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 มีความสามารถด้านภาษา  อ่านออกเขียนได้ ด้านคำนวณ และด้านการใช้เหตุผลที่เหมาะสม

3.เพิ่มศักยภาพนักเรียนในด้านภาษา ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์และด้านเทคโนโลยี

4.นักเรียนมีคุณธรรม  จริยธรรม  รักความเป็นไทย  มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และตามค่านิยมหลักของ

คนไทย 12 ประการ

5.ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ

6.ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

7.นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน

 

เอกลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังปลา

          สืบสานวัฒนธรรมกลองยาว

 

อัตลักษณ์ของโรงเรียนบ้านวังปลา

นักเรียนโรงเรียนบ้านวังปลาตีกลองยาวได้ทุกคน

ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 4 0 1 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

โครงสร้างเวลาเรียน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านวังปลา  ปี 2563
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑  (ฉบับปรับปรุง  พุทธศักราช 2560)

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม

สัดส่วนเวลาเรียน(ชั่วโมง/ปี)

ระดับประถมศึกษา

ป.๑

ป.๒

ป.๓

ป.๔

ป.๕

ป.๖

1.รายวิชาพื้นฐาน

 

1.1 ภาษาไทย

200

200

200

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

1.2 คณิตศาสตร์

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

1.3 วิทยาศาสตร์

40

40

40

๘๐

๘๐

๘๐

1.4 ภาษาต่างประเทศ

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

1.5 สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม

 

 

 

 

 

 

-     ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

40

40

40

80

80

80

วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

    -    เศรษฐศาสตร์

-     ภูมิศาสตร์

-     ประวัติศาสตร์

40

40

40

40

40

40

1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา

40

40

40

40

40

40

1.7 ศิลปะ

40

40

40

40

40

40

1.8 การงานอาชีพ

40

40

40

80

80

80

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน)

๘4๐

๘4๐

๘4๐

๘4๐

๘4๐

๘4๐

2.รายวิชาเพิ่มเติม

 

 

 

 

 

 

-     หน้าที่พลเมือง

* * * * * *

 


ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)

ปัจจุบันโรงเรียนมีอาคารเรียน 2 หลัง รวมจำนวนห้องเรียนทั้งหมด 7 ห้องเรียน มีห้องปฏิบัติการพิเศษต่างๆ ดังนี้

อาคารเรียน 2 หลัง

อาคารเรียน แบบ สปช 102/26 1 หลัง 4 ห้องเรียนและอาคารเรียน แบบ ป.1 ก 1 หลัง 4 ห้องเรียน อาคารเรียนแบบ ป.1 ก 1 หลัง 2 ห้องเรียน

อาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.202/2536 1 หลัง

ส้วมแบบ สปช.603/29 ขนาด 4 ที่นั่ง

- ห้องเรียน ห้องโสตทัศนูปกรณ์ ห้องสมุด

- ห้องเรียนปฐมวัย จำนวน 2 ห้อง

- ห้องเรียน ป.1 – ป.6 จำนวน 5 ห้อง ห้องพยาบาล ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

- ห้องธุรการ

- โรงอาหาร ห้องสมุดบ้านดิน

หลักฐานอ้างอิง :
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้  ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑ ห้องสมุด จำนวนหนังสือในห้องสมุดทั้งหมด จำนวน ๕๐๐ เล่ม การสืบค้นหนังสือ และการยืม/คืน  จำนวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุด ในปีการศึกษานี้ เฉลี่ย 5 คน/วัน คิดเป็นร้อยละ 65.57 ของนักเรียนทั้งหมด
๒ ห้องปฏิบัติการ
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์                         1         ห้อง
ใช้เพื่อการเรียนการสอน                              8        เครื่อง
ใช้เพื่อสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต           8           เครื่อง
จำนวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตในปีการศึกษาที่รายงาน เฉลี่ย 5 คนต่อวัน

 
คิดเป็นร้อยละ 100  ของนักเรียนทั้งหมด

 
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้ภายใน

สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

๑. สวนกล้วยน้ำว้า

47

๒. ห้องสมุดบ้านดิน

40

๓. แปลงผักกางมุ้ง

40


 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้ภายนอก

สถิติการใช้
จำนวนครั้ง/ปี

ชื่อแหล่งเรียนรู้

ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้าน

1

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดจันทบุรี

1

สวนเลี้ยงผึ้ง  อำเภอมะขาม

1


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  5
กระบวนการพัฒนา  

ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพเด็ก

1.ระดับคุณภาพ    ระดับ  5  ยอดเยี่ยม

2.วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

        

2.1วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

โรงเรียนบ้านวังปลามีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย   ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดีและดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาดถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย  มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มี กิจกรรมออกกำลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก  พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา  ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย  หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน  มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็กและได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพซากชุมในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ สนับสนุนให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับเครือข่ายโรงเรียน  มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม  มีวินัยในตนเอง  มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน  สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด  ทั้งภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อนในห้องเรียน  ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์  การเรียนรู้  รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตนและของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญทางชาติ

 กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันแม่ วันไหว้ครู วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชา ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทน มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดำเนินการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และมีการจัดกิจกรรมร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพของตน โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคำตอบ มีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้เด็กอ่านนิทานและเล่านิทานที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่างๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดยการวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง

ผลการดำเนินงาน  

   2.2ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

- รายงาน สรุป โครงการ/กิจกรรม

- เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ ร้อยละ ๑๐๐

-เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ร้อยละ ๑๐๐   สังเกตได้จากการกล้าพูด กล้าแสดงออก รู้จักเข้าแถว รอคิว ในการรับประทานอาหาร รู้จักหน้าที่รับผิดชอบ ตามที่ได้รับมอบหมายทั้งในและนอกห้องเรียน ตามเขตพื้นที่รับผิดชอบ ร่าเริง แจ่มใส

- เด็กมีพัฒนาด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม ได้ร้อยละ ๑๐๐ สังเกตได้จากการช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน รู้จักเก็บสิ่งของเครื่องใช้ ทั้งของส่วนตัวและส่วนรวม รู้จักยิ้ม ทักทาย อยู่เป็นนิจ อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

-เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

3.จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

        เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี

 

-ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาที่เกิดจากการอ่าน

-การทำกิจกรรมเสริมสติปัญญาให้เหมาะสมตามวัย

-การพัฒนา ปลูกฝังในเรื่องสุขนิสัยที่ดี เช่น การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร ล้างมือก่อนออกจากห้องน้ำ ห้องส้วม และการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ให้เป็นนิสัย

-การยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ

-การใช้คำพูดขอบคุณ ขอโทษ

-การใช้วาจาสุภาพเหมาะสมกับวัย

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

1)     โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย

2)  โครงการส่งเสริสมรรถภาพและสุนทรียภาพผู้เรียน

3)  โครงการสนับสนุนให้เด็กมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้

 



ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

1.ระดับคุณภาพ  ดีเลิศ

2.วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

2.1  วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

             การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านวังปลาได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น  พิจารณาจากวัยของเด็ก  ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย  อารมณ์จิตใจ สังคม  และสติปัญญา  เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้  มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีศักยภาพ  สำหรับด้านระบบกลไก  การเสริมสร้างความตระหนักรับรู้  และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มีการประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ

            โรงเรียนบ้านวังปลา ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์  และอำนวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก  ทั้งด้านร่างกาย  อารมณ์และจิตใจ  สังคมและสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการเพื่อการจัดการเรียนรู้  เช่น จัดให้มีห้องคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็กได้ศึกษาหาข้อมูลทางโลกออนไลน์  จัดให้มีอุปกรณ์  ของเล่น ของใช้  เครื่องนอน  เครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับเด็ก  โดยจัดให้เหมาะสม  สะอาด ปลอดภัย  ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็ก  ให้เพียงพอและเหมาะสมกับวัย  จัดให้มีเครื่องเล่นสนาม ที่เหมาะสมปลอดภัย  จัดให้มีพื้นที่สำหรับแปรงฟัน  ล้างมือ ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้าห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็ก  มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม  เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง  สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว  ชุมชนและท้องถิ่นจัดครูที่เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้คือมีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย  และมีครูพี่เลี้ยงที่ผ่านการอบรมทางด้านการดูแลเด็กปฐมวัย  ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องrพัฒนาคุณภาพครูด้านการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย  มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล  มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม  ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครองมีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน  ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม  มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้  มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา  ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา  โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม  พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน  

2.2 ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

-  แผนปฏิบัติการ หลักสูตร

-หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

-รายงานผลการเข้าร่วมอบรมพัฒนาของครูและบุคลากร

โครงการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการเรียนรู้

โครงการทัศนศึกษา

-  โครงการจัดหา/จัดทำเครื่องเล่นสนาม

-แผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

- รายงานผลการประเมินตนเองประจำปี 

3.จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

- มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง

4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น

- การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์

-         ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพ

        -  จัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน

        - ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

       - จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียง

        - กำหนดแผนการพัฒนาครูอย่างชัดเจน

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น (ระบุแผนงานโครงการ/กิจกรรม)

     1)  โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย

     2)  โครงการจัดทำแผนปฏิบัติการ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  5
กระบวนการพัฒนา  
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

1.ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม ระดับ 5

2.วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

2.1 วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข ภายใต้คำว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้ความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆด้านให้เหมาะสมกับวัย ดังนี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความรับผิดชอบด้านสังคม เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน

ห้องเรียนมีบรรยากาศ แจ่มใส กว้างขวางพอเหมาะ มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ มีการตกแต่งห้องเรียนให้สดใสและมีสื่อการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์การเรียนการสอน การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการจัดกิจวัตรประจำวัน ด้วยเครื่องมือและวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสอบถาม การสำรวจ และการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของเด็ก โดยให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม เพื่อได้นำผลการประเมินไปพัฒนาศักยภาพของเด็กและพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงาน    2.2ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
          - มุมประสบการณ์
          - แบบบันทึกการพัฒนาการของเด็ก
          -รายงานผลการประเมินตนเอง
          -บรรยากาศ  ห้องเรียนแจ่มใส  มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ 
          -การจัดกิจวัตรประจำวัน  
3.จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

 

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

-        เด็กมีพัฒนาการการอย่างสมดุล
- เด็กเรียนรู้ จากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรม
-  มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้
-        ประเมินผลเด็กด้วยวิธีการหลากหลาย

-  จัดอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย
-  พัฒนาเครื่องเล่นสนามและระบบสาธารณูปโภค
- จัดกิจกรรมส่งเสริมเด็กเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น
1)  โครงการปรับปรุงหลักสูตรปฐมวัย
2)  โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
3)  โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย
4)  โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
5) โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นและวันสำคัญ
 2.2ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
          - มุมประสบการณ์
          - แบบบันทึกการพัฒนาการของเด็ก
          -รายงานผลการประเมินตนเอง
          -บรรยากาศ  ห้องเรียนแจ่มใส  มีมุมส่งเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ 
          -การจัดกิจวัตรประจำวัน  
3.จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

-        เด็กมีพัฒนาการการอย่างสมดุล
- เด็กเรียนรู้ จากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรม
-  มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้
-        ประเมินผลเด็กด้วยวิธีการหลากหลาย

-  จัดอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนที่หลากหลาย
-  พัฒนาเครื่องเล่นสนามและระบบสาธารณูปโภค
- จัดกิจกรรมส่งเสริมเด็กเรียนรู้การอยู่ร่วมกัน

 แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น
1)  โครงการปรับปรุงหลักสูตรปฐมวัย
2)  โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
3)  โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนระดับปฐมวัย
4)  โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
5) โครงการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นและวันสำคัญ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน

     ๑.๑ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

. มีความสามารถในการอ่าน การเขียน  การสื่อสาร และการคิดคำนวณ

 

 

๑)โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้  คิดเลขเป็น

-กิจกรรมพัฒนาทักษะทางคอมพิวเตอร์ของผู้เรียน

- ข่าวยามเช้า

-โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

- สรุปโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

 - ผลการประเมินการอ่าน

การเขียน

- แบบบันทึกการอ่าน

- แบบบันทึกการอ่านข่าว

. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา

๑).โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

-กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์  คิดแก้ปัญหา

- ผลการประเมินการคิด 

-สรุปโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

.มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

 

๑)โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

 -กิจกรรมแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน

-ผลงานนักเรียน,นวัตกรรมของครู/นักเรียน

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

.มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๑)โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน

-กิจกรรมพัฒนาทักษะทางคอมพิวเตอร์

- ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

-สมุดบันทึกการใช้ห้องคอมพิวเตอร์

๕.มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

๑)โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

 2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

หลักสูตรสถานศึกษา

- ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้น

 ป.๑-๖

๖.มีผลการทดสอบระดับชาติ

 

 

๑)โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

 2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

- ผล NT , ผล O-Net

- การทดสอบชั้น ป.๑-๖

๗.มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

 

1.โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

 - กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพ

สรุปโครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

 -กิจกรรมส่งเสริมทักษะอาชีพ

 

 

โรงเรียนบ้านวังปลาได้ปรับปรุงพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละระดับชั้น ทำให้คุณภาพของผู้เรียนในมาตรฐานที่1 อยู่ในระดับดีเลิศ  ระดับ4  ค่าเป้าหมาย  84.33

 

๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

 

         โรงเรียนบ้านวังปลาได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยจัดให้มีโครงการกิจกรรมวันสำคัญ โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างส่งผลให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย  จัดให้มีโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมสถานศึกษาจัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัยมีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิตนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้างการเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชน

 

 

 

 

.การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

- โครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

-กิจกรรมคนดีศรีวังปลา

-สรุปโครงการโครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-สรุปโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

-บันทึกการทำความดีของนักเรียน

 

ผลการดำเนินงาน  

โรงเรียนบ้านวังปลาได้ปรับปรุงพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละระดับชั้น ทำให้คุณภาพของผู้เรียนในมาตรฐานที่1 อยู่ในระดับดีเลิศ  ระดับ  4    ค่าเป้าหมาย  86.75

 

๑.๒คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

 

         โรงเรียนบ้านวังปลาได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยจัดให้มีโครงการกิจกรรมวันสำคัญ โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างส่งผลให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย  จัดให้มีโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมสถานศึกษาจัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัยมีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิตนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้างการเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชน

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/drive/folders/1KDgeIK0LStQjB30rlUtGlhMQC-x4vK5p?usp=sharing
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

          โรงเรียนบ้านวังปลาได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร มีความเอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ โดยจัดให้มีโครงการกิจกรรมวันสำคัญ โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่างส่งผลให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย  จัดให้มีโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมสถานศึกษาจัดกิจกรรมการพัฒนา

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

.การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

- โครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

-กิจกรรมคนดีศรีวังปลา

 

-สรุปโครงการโครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-สรุปโครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

-บันทึกการทำความดีของนักเรียน

. ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

- โครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

 

- สรุปโครงการกิจกรรมวันสำคัญ

-ภาพกิจกรรมการร่วมในวันสำคัญต่างๆ

-ภาพกิจกรรมการร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม

. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

๑) กิจกรรมเด็กดี

ศรีวังปลา

๒)กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ

- สรุปกิจกรรมเด็กดี 

ศรีวังปลา

-สรุปกิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ

. สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม

 

 

๑)โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา

๒)โครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม

๓)โครงการอนามัยโรงเรียน

-สรุปโครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา

-สรุปโครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม

-สรุปโครงการอนามัยโรงเรียน

-แบบบันทึกน้ำหนัก/ส่วนสูงของนักเรียน

-แบบบันทึกนักเรียนรายบุคคล

เหมาะสมกับวัยมีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิตนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนการสอนและมีการเรียนรู้ในโลกกว้างการเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชน

ผลการดำเนินงาน  

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ผลการประเมินในภาพรวม  อยู่ในระดับ ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๑คุณภาพของผู้เรียน

. ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ

. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

       . วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา

  โรงเรียนบ้านวังปลาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า "การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข ดังนั้นโรงเรียนบ้านวังปลา จึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน ๒ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ  ๒) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้  ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

    ๒. ๒ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่  สรุปการจัดกิจกรรมต่าง ๆ กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  กิจกรรมพัฒนาทักษะคอมพิวเตอร์ กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านออก เขียนได้  คิดเลขเป็น กิจกรรมแข่งขันศิลปหัตถกรรม   กิจกรรมวิชาการ (Head) กิจกรรมตลาดนัดอาชีพ (Hand)   กิจกรรมธรรมะ (Heart)   กิจกรรมเพื่อสุขภาพ (Health)  กิจกรรมพาน้องเข้าวัด  กิจกรรม ๕ส. และอนุรักษ์พัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมห้องเรียนสีขาว กิจกรรมเด็กดีศรีวังปลา กิจกรรมดนตรี-นาฏศิลป์   กิจกรรมแข่งขันกีฬาภายใน  กิจกรรมศิลปะกิจกรรมข่าวยามเช้า  กิจกรรมหนังสือรักการอ่าน  กิจกรรมหนังสือเล่มเล็ก  กิจกรรมยอดนักอ่าน กิจกรรมภาษาไทยวันละคำกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  กิจกรรมผักกางมุ้ง  กิจกรรมวันสำคัญ

. จุดเด่น  จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

สถานศึกษามีการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและได้กำหนดเป็นเป้าหมายทางการเรียนโดยใช้ข้อมูลฐาน ๓ ปีย้อนหลังเป็นเป้าหมายคุณภาพนักเรียนให้พัฒนาสูงขึ้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ เน้นทักษะในการอ่าน การเขียน และการคิดคำนวณ ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มศักยภาพ มีการจัดแหล่งเรียนรู้ภายในได้อย่างเหมาะสมมีสื่อด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย  ผู้เรียนมี สุขภาพกาย สุขภาพจิต ดี กล้าแสดงออก และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข

การจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นยกระดับผลสัมฤทธิ์ ยังขาดการปฏิบัติที่ต่อเนื่อง จริงจัง    การยกระดับผลสัมฤทธิ์แต่ละกลุ่มสาระประสบผลสำเร็จในระดับหนึ่ง นักเรียนส่วนใหญ่ยังต้องได้รับการพัฒนาต่อไป ผลสัมฤทธิ์ระดับชาติของนักเรียนมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงพัฒนาขึ้นโดยรวม แต่ในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้มีคะแนนต่ำ จึงต้องมุ่งเน้นพัฒนาต่อไป

จัดกิจกรรมด้านการอ่านการเขียน คำนวณให้กับนักเรียนเรียนร่วมเปรียบเทียบความก้าวหน้าและการพัฒนาของนักเรียนเป็นรายบุคคล

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

๑) โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

๒) โครงการพัฒนาวิชาการ

๓) กิจกรรมเด็กดีศรีวังปลา

๔)  กิจกรรมส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 

๕)  โครงการเรียนดี  เรียนฟรี ๑๕ปี 

6) โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง

7) โครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม

8)  กิจกรรมอนามัยโรงเรียน 

9) กิจกรรมการวันสำคัญวิถีพุทธ

๑๐) กิจกรรมการระบบดูแลช่วยเหลือ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

. มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และ

พันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

1.โครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

-กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

-มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

- รายงานการประเมินตนเอง

-แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๖๑

-สรุปโครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

-กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

.มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

 

1.โครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

-กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

-สรุปโครงการพัฒนาวิชาการ

   -มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

--กิจกรรมพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา

-กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

 

.ดำเนินงานพัฒนางานวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย

๑)โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

 2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

-สรุปโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

 

. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

 

๑)โครงการพัฒนาบุคลากร

 -กิจกรรมรายงานการประเมินตนเองของครู

-กิจกรรมพัฒนาครูแบบครบวงจร

- สรุปโครงการพัฒนาบุคลากร

 -กิจกรรมรายงานการประเมินตนเองของครู

-กิจกรรมพัฒนาครูแบบครบวงจร

.จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

โครงการปรับภูมิทัศน์

- สรุปโครงการปรับภูมิทัศน์

ผลการดำเนินงาน  

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

. ระดับคุณภาพ   ดีเลิศ   ระดับ 4    ค่าเป้าหมาย  85.20

. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

         ๒.วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา  เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ในโรงเรียนบ้านวังปลา  การดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา   ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐานในการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน  ในดำเนินการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน  ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย  เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความต้องการของครูและสถานศึกษา  จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ   และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ  เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบ้านวังปลา 

      ๒.๒  ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง

  ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการบริหารและการจัดการได้แก่ โรงเรียนมีเป้าหมายวิสัยทัศน์ และพันธกิจที่โรงเรียนกำหนดชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ความต้องการของชุมชน มีระบบการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบ วางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยนำแผนไปปฏิบัติ   ติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผล  และปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากำลัง  ทรัพยากรทางการศึกษา  และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  มีการนิเทศภายใน  นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากร  และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนในการวางแผน ปรับปรุง  พัฒนาและร่วมกันรับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา มีการบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ รวมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มเรียนร่วมด้วย มีการส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ มีความปลอดภัย จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของโรงเรียน พัฒนาบริการด้านเทคโนโลยี  สารสนเทศ มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้อย่างเหมาะสม

 

. จุดเด่นจุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

       โรงเรียนมีเป้าหมาย  วิสัยทัศน์  พันธกิจ ที่กำหนดไว้ชัดเจน  สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนตามความต้องการของชุมชน  วัตถุประสงค์ของแผนการจัดการศึกษาของชาติ  นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด  ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมพัฒนางานวิชาการเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน  ตามหลักสูตรสถานศึกษา และส่งเสริมสนับสนุนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญตรงตามความต้องการ  ให้เป็นชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ  มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน

 

โรงเรียนควรจัดให้มีอาคารและห้องปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้มีการนิเทศ  ติดตาม  ที่ชัดเจนต่อเนื่อง มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย

 

 

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

๑) โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

๒) โครงการพัฒนาวิชาการ

๓) โครงการนิเทศภายใน

4) โครงการพัฒนาบุคลากร

๕)  โครงการบริหารงานงบประมาณ

๖)  โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

๗)  โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

.จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

๑).โครงการพัฒนาความเป็นเลิศ

2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

-กิจกรรมพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา

- ผลการประเมินการคิด

-สรุปโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

.ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

1.โครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี

-กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้

-สรุปโครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีและบัญชีสื่อ

-กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้

- ทะเบียนแหล่งเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา

โครงการ/กิจกรรม

หลักฐานเชิงประจักษ์/ผลงานโดดเด่น

.มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

๑).โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

๑)โครงการพัฒนาบุคลากร

-กิจกรรมนิเทศภายใน

-สรุปโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน

-บันทึกนิเทศภายใน

- โครงงาน

- วิจัยชั้นเรียน

- ผลงานนักเรียน

-แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน

.ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

๑).๑).โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

2).โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

-สรุปโครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน

-สรุปโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

- แบบประเมินด้านการเรียน

- แบบ ป..ต่างๆ

- ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

-บันทึกหลังสอน

.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

โครงการพัฒนาวิชาการ

-สรุปโครงการพัฒนาวิชาการ

-กิจกรรมพัฒนาประกันคุณภาพการศึกษา

- แผนปฏิบัติการประจำปี

- แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

- รายงานการประชุมอบรม

-รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงาน  มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
๑. ระดับคุณภาพ  ดีเลิศ   ระดับ4   ค่าเป้าหมาย 85.20
๒. วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
        ๒.๑วิธีการพัฒนา/ผลที่เกิดจากการพัฒนา
โรงเรียนบ้านวังปลาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เนื่องจากโรงเรียนบ้านวังปลาเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่ประสบปัญหาขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงสาขาวิชาเอก จึงได้เข้าร่วมโครงการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television : DLTV)  ซึ่งได้ส่งเสริมให้ครูจัดห้องเรียนให้เหมาะสม เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอนไปพร้อมกับครูต้นทางโดยครูผู้สอนมีการสรุปสาระสำคัญร่วมกับนักเรียนและบันทึกผลการจัดการเรียนการสอน พร้อมทั้งมีการวัดและประเมินผลหลังการจัดการเรียนการสอนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติ (Active learning)  ให้ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด ปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน  ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา  ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และนำผลที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง ครูใช้สื่อ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็กรักการเรียนรู้และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลมาร่วมพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้นักเรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ครูทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียน ซึ่งมีผลทำให้ผลการทดสอบระดับชาติในบางวิชาสูงขึ้น
๒.๒  ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง
 ประเด็นภาพความสำเร็จด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่สนับสนุนผลการประเมินตนเอง ได้แก่  หลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม บันทึกหลังสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้จาก DLTV การบันทึกการใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ เอกสารการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกโดยครูมีวิจัยชั้นเรียนและนำผลไปแก้ไขปัญหาจริง ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้โดยจัดกิจกรร Openhouse
๓. จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น

 

จุดเด่น

จุดที่ควรพัฒนา

ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ ที่เน้นทักษะกระบวนการคิด ได้ปฏิบัติจริง มีการให้วิธีการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ให้นักเรียนแสวงหาความรู้ จากสื่อเทคโนโลยีด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ควรนำภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนทันทีเพื่อนักเรียนนำไปใช้พัฒนาตนเอง ควรจัดครูให้ครบชั้น

แผนพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดับให้สูงขึ้น
๑) โครงการพัฒนาความเป็นเลิศของผู้เรียน
๒) โครงการพัฒนาวิชาการ
๓) กิจกรรมเด็กดีศรีวังปลา
๔)  โครงการส่งเสริมสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 
๕)  โครงการเรียนดี  เรียนฟรี ๑๕ปี 
6) โครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง
7) โครงการอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม
8)  โครงการอนามัยโรงเรียน 
9) โครงการวันสำคัญวิถีพุทธ
๑๐) โครงการระบบดูแลช่วยเหลือ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนบ้านวังปลา   ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลการประเมิน ดังนี้
          โรงเรียนบ้านวังปลาส่งเสริมให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการ ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดฯ(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖๐) เพื่อให้ครูใช้เป็นกรอบในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายที่ว่า"การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ซึ่งสอดรับกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข    ดังนั้นโรงเรียนบ้านวังปลาจึงกำหนดมาตรฐานการศึกษาด้านคุณภาพผู้เรียนจำนวน 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ 2) ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคำนวณ รวมทั้งการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร และการมีความรู้  ทักษะพื้นฐาน เจตคติที่ดีต่องานอาชีพ สำหรับด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด และ มีสุขภาวะทางร่างกายและสังคม ความภูมิใจในท้องถิ่น และความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
             ประเด็นภาพความสำเร็จด้านคุณภาพผู้เรียนที่สนับสนุนผลการประเมินตนเองผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียนได้แก่
๑.     มีความสามารถในการอ่าน การเขียน  การสื่อสาร และการคิดคำนวณ
๒.     มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์คิดอย่างมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหา
๓.     มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
๔.     มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๕.     มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๖.     มีผลการทดสอบระดับชาติ
๗.     มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน

ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ดีเลิศ

สรุประดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ดีเลิศ

 

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 2.https://drive.google.com/file/d/11i1523qAMM08FELmnAVGOME1FLW3RDiv/view?usp=sharing
 2.3 ภาคผนวก
 https://drive.google.com/file/d/10RHCHDZ1b9qGWT1OkViwa1-VjQ7sYo9r/view?usp=sharing