รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านเนินดินแดง

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

          สถานศึกษาส่งเสริมการมีส่วนร่วม จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดนโยบาย วางแผนร่วมกันกำหนดเกณฑ์การประเมินผล กำหนดขอบข่ายและภารกิจให้ชัดเจน และร่วมกันพัฒนานักเรียนให้มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นคนดี รู้จักคิดวิเคราะห์ใช้เทคโนโลยีสืบค้นข้อมูลข่าวสารได้รู้ช่องทางประกอบอาชีพ ใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาครูให้จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้สื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย น้นการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเต็มกำลังความสามารถโดยพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้มแข็ง มีระบบการบริหารจัดการที่ดี ภายใต้การสนับสนุนของชุมชนและผู้ปกครอง
 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

นางนิศาชล  สวัสดิสาร เป็นผู้สร้างคุรประโยชน์ในด้านการศึกษาและดำรงตยอยู่ในศิลธรรม อันเป็นแบบอย่างที่ดี (ครูดีศรีจันทบูร์)
ผู้บริหารได้พัฒนาตนเองในด้านคุณธรรม ด้านการศึกษา ด้านชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยมีเกียรติบัตร รูปภาพเป็นหลักฐาน
 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

          ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม รักถิ่นฐานบ้านเกิดสำนึกความเป็น ส่งเสริมอาชีพในท้องถิ่นและวิถึชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง,พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะและคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และหลักสูตรและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้,พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนสอนได้อย่างมีคุณภาพ , พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ, ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชน และท้องถิ่น ในการจัดการศึกษา


 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

โรงเรียนบ้านเนินดินแดงฯ ที่ตั้ง เลขที่ ๘๘ หมู่ที่ ๑๒ ตำบลเขาบายศรี อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต ๑ เนื้อที่ 21 ไร่ 84 ตารางวา

โทรศัพท์ .039- 495-406 โทรสาร…….-………………..e-mail………….…………website…………………………

เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล 1 ถึงระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6

เขตพื้นที่บริการ

หมู่ที่10,12 ตำบลเขาบายศรี

หมู่ที่ 7,14 ตำบลทุ่งเบญจา

หมู่ที่ 15,17 ตำบลสองพี่น้อง

โรงเรียนบ้านเนินดินแดงฯ แบ่งโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารงบประมาณ

ผู้บริหารยึดหลักการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและพัฒนาตามกระบวนการ PDCA โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนองค์กรและชุมชน ร่วมกันบริหารจัดการสถานศึกษาให้สอดคล้องและตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ของผู้ปกครองและชุมชนมากที่สุด

แนวทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

สถานศึกษาส่งเสริมการมีส่วนร่วม จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดนโยบาย วางแผนร่วมกันกำหนดเกณฑ์การประเมินผล กำหนดขอบข่ายและภารกิจให้ชัดเจน และร่วมกันพัฒนานักเรียนให้มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นคนดี รู้จักคิดวิเคราะห์ใช้เทคโนโลยีสืบค้นข้อมูลข่าวสารได้รู้ช่องทางประกอบอาชีพ ใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง


จัดทำโครงการพัฒนาครูให้จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้สื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เน้นการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเต็มกำลังความสามารถโดยพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้มแข็ง มีระบบการบริหารจัดการที่ดี ภายใต้การสนับสนุนของชุมชนและผู้ปกครอง

ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม

1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะชุมชนตั้งอยู่ในเขตชนบทมีการตั้งบ้านเรือนอยู่อย่างกระจัดกระจายมีสภาพพื้นที่เป็นที่สูงสลับที่ลุ่มมีลำคลองและแหล่งน้ำขนาดเล็ก มีประชากรประมาณ 500 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ชุมชนเขาสุกิม ชุมชนเนินดินแดง ชุมชนแพร่งขาหยั่ง อาชีพหลักของชุมชน คือ ทำสวนผลไม้ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ วัดเขาสุกิม

2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ รับจ้างทั่วไป ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 20,000 บาทจำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 4 คน

3)โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน

อยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว เช่นวัดเขาสุกิม ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากเทศบาลตำบลเขาบายศรี ชุมชนในพื้นที่ 3ตำบล คือ ตำบลเขาบายศรี ตำบลทุ่งเบญจา ตำบลสองพี่น้อง อยู่ใกล้โรงพยาบาลวัดเขาสุกิม ทำให้ได้รับการบริการจากโรงพยาบาลอย่างต่อเนื่อง เช่น การตรวจสุขภาพของนักเรียน การบริการทันตกรรม การเข้ารับการบริการในกรณีฉุกเฉิน เช่น ในกรณีที่นักเรียนเจ็บป่วย หรือเกิดอุบัติเหตุ

การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

วิสัยทัศน์

เพียบพร้อมคุณธรรม พัฒนาวิชาการ สืบสานวัฒนธรรม น้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ

1. ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม

2. พัฒนาการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคโนโลยีช่วยสนับสนุนการจัดการศึกษา

3. จัดการศึกษาเพื่อพัฒนางานอาชีพสำหรับผู้เรียน โดยใช้แหล่งเรียนรู้และสถานประกอบการในท้องถิ่น

4. นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน

อัตลักษณ์ของสถานศึกษา

สุขภาพดี มีคุณธรรม

เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

กีฬาเด่น เน้นคุณธรรม

เป้าหมาย

นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ และพัฒนางานอาชีพในท้องถิ่น ตลอดจนร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น และดำรงตนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เป้าประสงค์โรงเรียน

๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

๒. โรงเรียนให้บริการทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพอย่างทั่วถึงและเสมอภาค

๓. ครูมีศักยภาพและสมรรถนะต่อการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๔. โรงเรียนมีความเข้มแข็งและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษา

ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 9 1 2 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา/กิจกรรม

เวลาเรียน : ชั่วโมง/ปี

ระดับประถมศึกษา

ป.๑

ป.๒

ป.๓

ป.๔

ป.๕

ป.๖

—กลุ่มสาระการเรียนรู้/วิชาพื้นฐาน

 

ภาษาไทย

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

คณิตศาสตร์

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

๘๐

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

    ประวัติศาสตร์

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

    สุขศึกษาและพลศึกษา

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

    ศิลปะ

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

    การงานอาชีพ

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

    ภาษาต่างประเทศ

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

    รวมเวลาเรียน (รายวิชาพื้นฐาน)

* * * * * *

ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)

บ้านพักครู 2 หลัง

อาคารเรียน 3 หลัง

อาคารประกอบ 1 หลัง

สนามเด็กเล่น 1

สนามฟุตบอล 1

สนามบาส 1

ห้องส้วม 2 หลัง



หลักฐานอ้างอิง : https://drive.google.com/file/d/1ok7WJtIBBfmYID7z_Ed7jWv4knfXeJ89/view?usp=sharing
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

ชื่อแหล่งเรียนรู้

สถิติการใช้จำนวนครั้ง/ปี

  1. ห้องคอมพิวเตอร์
  2. ห้องดนตรี
  3. ห้องประชุม
  4. ห้องธุรการ
  5. ห้องพยาบาล
  6. โรงอาหาร
  7. ร้านสหกรณ์โรงเรียน
  8. สนามเด็กเล่น
  9. แปลงเกษตร
  10. สวนสมุนไพร
  11. ห้องเรียน
  12. ห้องวิทยาศาสตร์

 

120/ ปี

200/ ปี

50/ ปี

200/ ปี

100/ ปี

200/ ปี

200/ ปี

200/ ปี

12 / ปี

12 / ปี

220 / ปี

220 / ปี


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  ยอดเ
กระบวนการพัฒนา  เด็กมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยผ่านกระบวนการพัฒนา ผ่านกิจกรรม เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา
ผลการดำเนินงาน  

เด็กมีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน เหมาะสมกับวัย เป็นตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  ยอดเ
กระบวนการพัฒนา  ครูมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับวิถีชีวิต ครอบครัว ชุมชนและบริบท พร้อมทั้งจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จัดทำหน่วยการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมประจำวันที่หลากหลายผ่านการลงมือปฏิบัติ เพื่อตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก และมีการจัดประเมินพัฒนาการเด็ก
ผลการดำเนินงาน  เด็กปฐมวัยมีความพร้อมทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา เหมาะสมกับวัยตามความต้องการและความแตกต่างของเด็ก
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  5
กระบวนการพัฒนา  มีจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ภายใน เพื่อสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก โดยมุ่งหวังให้เด็กมีพัฒนาการเรียนรู้ตามวัย ใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ผลการดำเนินงาน  ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เด็ก พ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยผ่านกิจกรรมโครงการต่างๆ
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  5
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
กระบวนการพัฒนา
เด็กมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา โดยผ่านกระบวนการพัฒนา ผ่านกิจกรรม เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
กระบวนการพัฒนา
ครูมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษาปฐมวัย ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยมีความยืดหยุ่นและสอดคล้องกับวิถีชีวิต ครอบครัว ชุมชนและบริบท พร้อมทั้งจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จัดทำหน่วยการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ การจัดกิจกรรมประจำวันที่หลากหลายผ่านการลงมือปฏิบัติ เพื่อตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็ก และมีการจัดประเมินพัฒนาการเด็ก

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
กระบวนการพัฒนา
มีจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ภายใน เพื่อสนับสนุนให้นักเรียน บุคลากรในสถานศึกษาเกิดกระบวนการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอก โดยมุ่งหวังให้เด็กมีพัฒนาการเรียนรู้ตามวัย ใฝ่เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน


 
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก

จุดเด่น

เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ และด้านสังคมและสติปัญญาเหมาะสมกับวัย มีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป และมีผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพและโครงการ ส่งเสริมพัฒนาการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

จุดเด่น

สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา เพื่อรักษามาตรฐานที่สอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

จุดเด่น

สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้หลากหลาย

จากผลการดำเนินงานสถานศึกษามีกระบวนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ มีคำสั่งมอบหมายงาน มีการติตามผลการดำเนินงาน โดยจัดการเรียนรู้แบบให้เด็ก วางแผน ลงมือปฏิบัติกิจกรรม และสรุปผลการเรียนรู้ผ่านการอภิปราย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านการลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง จึงส่งผลให้ เด็กระดับปฐมวัยผ่านการประเมินพัฒนาการทุกคน และเป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ และสภาพที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พร้อมทั้งมีความพร้อมในศึกษาระดับชั้นต่อไปในอนาคต

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  มีการวางแผน คำสั่ง ติดตามผล/แนวทางการแก้ไข มีการจัดเข้าค่ายอบรมเรียนเพิ่มเติม มีกระบวนการให้นักเรียนคิดวิเคราะห์ ฝึกทักษะอาชีพ การใช้เทคโนโลยีอย่างเข้าใจ
ผลการดำเนินงาน  นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์เป็นที่น่าพอใจ ส่งประกวดในกิจกรรมต่างๆ เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  

หลักสูตรโรงเรียนบ้านเนินดินแดงฯ พุทธศักราช  2561  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช  2551  มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข  ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก   ดังนี้

1. รักชาติ  ศาสน์  กษัตริย์

2.  ซื่อสัตย์สุจริต

3.  มีวินัย

4. ใฝ่เรียนรู้

5. อยู่อย่างพอเพียง

6.  มุ่งมั่นในการทำงาน

7.  รักความเป็นไทย

 

8.  มีจิตสาธารณะสอนของครูทุกคน

ผลการดำเนินงาน  
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  
กระบวนการพัฒนา  มีการวางแผน ( Plan ) การกำกับติดตามการปกิบัติงานมีการตรวจสอบและติดตามผลการดำเนินงาน ( Check )  และนำผลมาหาแนวทางแก้ไข ( Action ) 
ผลการดำเนินงาน  
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  ดีเย
กระบวนการพัฒนา  มีการจัดทำหลักสูตร แผนการสอน บูรณาการการสอนที่หลากหลาย การจัดกิจกรรม เข้าค่ายวิชาการ ให้นักเรียนฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์การใช้เทคโนโลยีอย่างเข้าใจ
ผลการดำเนินงาน  
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

สถานศึกษาส่งเสริมการมีส่วนร่วม จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดนโยบาย วางแผนร่วมกันกำหนดเกณฑ์การประเมินผล กำหนดขอบข่ายและภารกิจให้ชัดเจน และร่วมกันพัฒนานักเรียนให้มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นคนดี  รู้จักคิดวิเคราะห์ใช้เทคโนโลยีสืบค้นข้อมูลข่าวสารได้รู้ช่องทางประกอบอาชีพ  ใช้ชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาครูให้จัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้สื่อนวัตกรรม แหล่งเรียนรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยเน้นการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเต็มกำลังความสามารถโดยพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้เข้มแข็ง   มีระบบการบริหารจัดการที่ดี  ภายใต้การสนับสนุนของชุมชนและผู้ปกครอง

 ด้านผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนแบบโครงงานให้ผู้เรียนสามารถดำเนินการในทุกระดับชั้นส่งเสริมได้จัดทำโครงงานตามความสนใจ วางแผนและดำเนินการอย่างเป็นระบบ ตลอดจนเพิ่มการจัดกิจกรรมพัฒนาและฝึกกระบวนการคิดของผู้เรียนตามความสนใจ โดยโรงเรียนมีความตระหนักและความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการที่แก้ไขปัญหาในด้านผู้เรียนเช่น การให้ผู้เรียนฝึกการทำโครงงานในแต่ละกลุ่มสาระ และกิจกรรมชมรมเสริมหลักสูตรให้ผู้เรียนรู้จักกระบวนการคิดการตัดสินใจที่จะเลือกเรียนชมรมที่ตนเองถนัดและสนใจ

 ด้านครู การพัฒนางานวิจัยในระดับที่สูงขึ้นเพื่อนำผลมาพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ในด้านความสามารถในการใช้เทคโนโลยีให้ทั่วถึงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ ประสบการณ์ข้ามสาระการเรียนรู้และระดมสมองในการพัฒนาผู้เรียนและสถานศึกษาให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยโรงเรียนมีความตระหนักและความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการที่แก้ไขปัญหาในด้านครู เช่น กำหนดมาตรการให้ครูได้ทำงานวิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนละ 1 ครั้ง และเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ มาให้ความรู้ การประเมิน งานวิจัยของ และการจัดการเรียนการสอนของครู ในด้านการใช้สื่อในการสอน สถานศึกษาได้นำกระดานอัจฉริยะ (Active Board ) ติดทุกห้องเรียนเพื่อส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีสื่อการสอนหรือเนื้อหาหลากหลายรูปแบบมากขึ้น ส่งผลให้การเรียนการสอนมีความน่าสนใจมากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาได้โดยตรง ช่วยให้นักเรียนมีความสนใจ สนุกสนาน สามารถเรียนรู้อย่างมีความสุข และให้ครูได้ผลิตสื่อCAI ทุกคน

  ด้านผู้บริหาร ให้ความสำคัญในการนิเทศภายในโดยพัฒนาระบบการนิเทศภายใน ด้านการนำข้อมูลจากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้มาวิเคราะห์ และใช้ข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ทั้งระดับบุคคล ระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยโรงเรียนมีความตระหนักและความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการที่แก้ไขปัญหาในด้านการบริหาร เช่น สถานศึกษาได้จัดกระบวนการนิเทศการสอนโดยให้หัวหน้ากลุ่มสาระเป็นผู้นิเทศ ครูผู้สอนได้ประเมินการสอนตนเอง เพื่อนนิเทศ คณะกรรมการนิเทศ มาช่วยดำเนินการนิเทศการสอนของครูทุกคน

ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.3 ภาคผนวก