รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรีฯ ตั้งอยู่เลขที่19หมู่ที่ 5 ตำบลโขมง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล1ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่6มีจำนวนนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่1ถึงอนุบาลปีที่3จำนวน5คนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่1 -ชั้นประถมศึกษาปีที่6จำนวน31คนรวมจำนวนนักเรียนทั้งสิ้น36คน มีบุคลากรสายบริหาร จำนวน1คน และมีข้าราชการครูครูอัตราจ้างและเจ้าหน้าที่อื่น ๆ จำนวน6คน


 

มาตรฐานการศึกษาของระดับปฐมวัยผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับ ดี

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก  ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ  ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563

มาตรฐาน

ระดับคุณภาพ

กำลังพัฒนา

ปานกลาง

ดี

ดีเลิศ

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

 

 

 

P

 

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

 

 

P

 

สรุปผลภาพรวมของสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ


 


 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

ระดับปฐมวัย

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพเด็ก

๑.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพนักเรียน

.โครงการอาหารเสริม(นม)

๓.โครงการพัฒนาพ่อแม่ผู้ปกครองปฐมวัย

.โครงการบูรณาการปฐมวัย

๕. โครงการอาหารกลางวัน

.โครงการรณรงค์ป้องกันยาเสพติดในสถานศึกษา

๗. กิจกรรมแปรงฟันหลัง อาหาร

๘. กิจกรรมกายบริหารหน้าเสาธง

๙.บันทึกพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย

๑๐.ผลการจัดประสบการณ์ของครูปฐมวัย











มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ

๑.หลักสูตรสถานศึกษาที่ยึดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัยทุกชั้น

.จัดครูผู้สอนตรงเอกวิชาการศึกษาปฐมวัย

๓.การจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก

.รายงานการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล

๕. ครูจัดมุมประสบการณ์หลากหลาย

.กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด

๗. จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน

๘. แบบประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๑.การจัดการเรียนผ่านDLTV

.การจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก

๓.รายงานการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล

.ครูจัดมุมประสบการณ์หลากหลาย

๕. แบบประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี

ระดับขั้นพื้นฐาน

ร่องรอยหลักฐานโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 1

1แบบสรุปรายงานผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน

2 แบบสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

3 แบบสรุปรายงานผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

4 เอกสารหลักฐานการวัดและประเมินผล

5 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

6 กิจกรรมวันภาษาไทย

7 กิจกรรมรักการอ่าน

8 ผลงานของนักเรียน

9 กิจกรรมชวนลูกๆ ไปวัด

10 วิจัยในชั้นเรียน

11 เกียรติบัตร ผลงานนักเรียน/ครู

12 กิจกรรมเรือนนางฟ้า

13 กิจกรรมเรือนพอเพียง

14 กิจกรรมรักการออม

15 กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

16 กิจกรรมตามค่านิยม 12 ประการ

17 กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระหน้าเสาธง

18กิจกรรมวันสำคัญ

19 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

20 กิจกรรมทุนการศึกษา

21 กิจกรรมเรียนรู้จากภูมิปัญญา

22 กิจกรรมลูกเสือ บำเพ็ญประโยชน์

23 กิจกรรมประหยัดน้ำ ประหยัดไฟ

24 ร่วมกิจกรรมวันเข้าพรรษากับชุมชน

25 ร่วมกิจกรรมวันลอยกระทงกับชุมชน

26 ร่วมกิจกรรมงานทอดผ้าป่า ทอดกฐินกับวัดเสม็ดโพธิ์ศรี

27 สภานักเรียน

28 แบบบันทึกการแปรงฟัน/ดื่มนม/รับประทานอาหารกลางวัน/ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง

ร่องรอยหลักฐานโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 2

1แผนปฏิบัติการประจำปี

2 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

3 บันทึกการนิเทศภายในของโรงเรียน

4 แบบขออนุมัติไปราชการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)

5 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

6 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

7 รายงานกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ

8 บันทึกการจัดการเรียนการสอน
9 หลักสูตรสถานศึกษา

10 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

11 แฟ้มข้อมูลนักเรียนยากจนพิเศษ

ร่องรอยหลักฐานโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 3

1 แผนการจัดการเรียนรู้

2 ภาพประกอบของชุมชนที่เขามาร่วมกับโรงเรียน และที่โรงเรียนเข้าไปร่วมกับชุมชนในกิจกรรมต่างๆ

3 การจัดกิจกรรมของผู้เรียนด้านต่างๆ

4 กิจกรรมค่านิยม12 ประการ

5 กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี

6 กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

7 แผนปฏิบัติการประจำปี

8 การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมDLTV

9 การเช่าสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง

10 ผลงานของนักเรียน

11 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

12 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

13 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

14 เอกสารหลักฐานการวัดและประเมินผล

15 วิจัยในชั้นเรียน

16 เกียรติบัตรรางวัลต่างๆ

17 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน วัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


 


 


 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

 แนวทางการพัฒนาในอนาคต

1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติจริงเป็นรายบุคคลได้ชัดเจนขึ้น

2 การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระตุ้นผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้น กำหนดให้ครูจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัด
การเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน

3 การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้าอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการนำไปใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

4 การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน

5 มีการประชุมคณะครูคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองให้เป็นประจำและ

มีความต่อเนื่อง

 

3. ความต้องการและการช่วยเหลือ

1 การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่21

2 การอบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางการประเมินRT NT และ PISA

3 การจัดสรรครูผู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกที่โรงเรียนมีความต้องการและจำเป็น

4จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและองค์กร

.5 จัดหาและเพิ่มเติมสื่ออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย

 


 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

1.ข้อมูลพื้นฐาน

1.1 ข้อมูลทั่วไป

ชื่อโรงเรียน วัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร) ตั้งอยู่เลขที่ 19 หมู่ 5ตำบลโขมง อำเภอท่าใหม่จังหวัด จันทบุรี รหัสไปรษณีย์ 22170 โทรศัพท์ 039-433-415 เพจ facebook โรงเรียน https://www.facebook.com/samatphosrischool.usuvitayacan สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลปีที่ 1 ถึงระดับประถมศึกษาปีที่ 6

1.2 ข้อมูลผู้บริหาร

ชื่อผู้อำนวยการโรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร) นายอภิวัฒน์ งามการ
วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์
094-8978796 e-Mail: chan_9558kan@hotmail.com ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่วันที่22ธันวาคม 2559 จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา .....4... ปี …4.. เดือน

1.3 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1)จำนวนบุคลากร

บุคลากร

ผู้บริหาร

ข้าราชการครู

พนักงานราชการ

ครูอัตราจ้าง

ลูกจ้างประจำ

เจ้าหน้าที่ธุรการ

ปีการศึกษา 2563

1

3

1

1

1

1

 

2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

วุฒิสูงสุด

ประถมศึกษา

มัธยมศึกษา

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

จำนวน 10 (คน)

1

0

6

1

 

1.4 ข้อมูลนักเรียน

จำนวนนักเรียนปีการศึกษา 2563 รวม 36 คน (ข้อมูล 18 กรกฎาคม 2563)

ระดับชั้นเรียน

อ.1

อ.2

อ.3

รวม

ป.1

ป.2

ป.3

ป.4

ป.5

ป.6

รวม

รวมทั้งหมด

จำนวนห้อง

1

1

1

3

1

1

1

1

1

1

6

9

 

เพศ

ชาย

0

3

0

3

6

4

3

1

1

5

20

23

หญิง

0

1

1

3

4

2

1

5

0

0

11

13

รวม

 

0

4

1

5

9

6

4

6

1

5

23

36

เฉลี่ยต่อห้อง

 

0:1

4:1

1:1

 

9:1

6:1

4:1

6:1

1:1

5:1

 

 

1.5 ข้อมูลสภาพแวดล้อมชุมชนโดยรวม

1) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะเป็นสวนผลไม้ขนาดย่อม มีประชากรประมาณ 2,997 คน ชาย 1,353 คน หญิง 1,028 คน มี 720 ครัวเรือน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่
วัดเสม็ดโพธิ์ศรีองค์การบริหารส่วนตำบลโขมง อาชีพหลักของชุมชน คือ ทำสวน 70 % รับจ้างทั่วไป 30 % ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ แห่เทียนพรรษา สงกรานต์ลอยกระทง การแสดงรำสวดในงานศพการเล่นสะบ้าทอย สะบ้าล้อ การแข่งเรือหางยาว

2) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลัก คือ เกษตรกร ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี 40,000 บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว 4 คน

3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน

โอกาสของโรงเรียน

 อยู่ใกล้แหล่งเรียนรู้ เช่น ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจาก

พระราชดำริ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สถานที่ท่องเที่ยวชายหาดแหลมเสด็จ – หาดคุ้งกระเบน - หาดเจ้าหลาวสวนผลไม้ของชาวบ้าน

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครอง ชุมชน หน่วยงานของรัฐและ

 

เอกชนให้การสนับสนุนการศึกษาและมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ในการบริหารการศึกษาของโรงเรียนเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน เช่นมีการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนใหญ่เป็นผู้นำชุมชนในเขตบริการแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองคณะกรรมการภาคี 4 ฝ่าย(ผู้แทนครู ผู้แทนชุมชน ผู้แทนกรรมการนักเรียน)

 เป็นโรงเรียนในชมรมโรงเรียนเครือข่ายพัฒนาการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่

 

การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

ข้อจำกัดของโรงเรียน

เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีห้องเรียนจำนวน 8 ห้องมีครูสอนไม่ครบชั้น ขาดแคลนครูผู้สอนตรงตามวิชาเอก ทำให้เกิดปัญหาด้านการเรียนการสอน คือครูส่วนใหญ่ขาดทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในวิชาเอกนั้น ๆ และนักเรียนมีจำนวนน้อยในแต่ละชั้นครูสอนไม่เต็มเวลาและเต็มความสามารถเพราะมีภารกิจอื่นที่นอกเหนือจากการเรียนการสอนที่ครูจำเป็นต้องปฏิบัติ ทั้งจากสังกัดเดียวกันและจากต่างสังกัดหลักสูตรและแผนการจัดการเรียนรู้ไม่ค่อยสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน สื่อการเรียนการสอนและเทคโนโลยี


ทางการศึกษามีจำนวนจำกัด

จากการสำรวจพบว่าปัญหาดังกล่าวได้ก่อให้เกิด ทำให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพไม่ได้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานทำให้เกิดปัญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการดำเนินงานของโรงเรียนเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีสาเหตุมาจาก

 อัตราการเกิดของประชากรลดลง ส่งผลให้ประชากรในวัยประถมศึกษา (6-12 ปี) ลดลง

อัตราการเคลื่อนย้ายประชากร โดยเฉพาะภาคแรงงานเมื่อมีการเคลื่อนย้ายก็ต้อง
นำบุตรหลานย้ายสถานที่เรียนด้วย

 ค่านิยม พ่อแม่ผู้ปกครองและนักเรียนมีค่านิยมการเข้าเรียนโรงเรียนในเมือง
หรือชุมชนใหญ่ ๆ เพราะการเดินทางสะดวกสบายมีรถรับส่งนักเรียนในการเดินทางไปเรียนแพร่หลายมากขึ้น และเป็นการลดภาระพ่อ แม่ผู้ปกครองในการ รับ – ส่ง บุตรหลาน
ของตนเอง แต่การพัฒนาปรับปรุง
ด้านต่าง ๆ ไม่สามารถทำให้นักเรียนในเขตบริการมาเข้าเรียนได้

การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

ปรัชญาโรงเรียน

"ความรู้คู่คุณธรรม

คำขวัญ

"เรียนดี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม

วิสัยทัศน์

นักเรียนเป็นคนดี มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พันธกิจ

1.เร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษา

2.พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน

3. ปฏิรูปการเรียนรู้ พัฒนาการสอนที่มุ่งให้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในบทเรียนทุกกลุ่มสาระวิชา

4.โรงเรียนและชุมชนร่วมกันวางแผนดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย

5.จัดสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัย

เป้าประสงค์ (Goals)

1.ผู้เรียนทุกคนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

2.ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับโอกาสในการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง

และได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ

3.ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพ

4.สถานศึกษา มีความเข้มแข็ง บริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม

 

 

 

กลยุทธ์ (Strategy)

กลยุทธ์ที่ 1พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ ด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้

กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุมผู้เรียน ให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ

กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบให้สามารถจัดการเรียนการสอน ได้อย่างมีคุณภาพ

กลยุทธ์ที่ 5พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทางกระจายอำนาจทางการศึกษา ตามหลักธรรมาภิบาลเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา

ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 3 1 1 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

 

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรีฯ

โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา/กิจกรรม

เวลาเรียน : ชั่วโมง/ปี

ระดับประถมศึกษา

ป.1

ป.2

ป.3

ป.4

ป.5

ป.6

กลุ่มสาระการเรียนรู้ / วิชาพื้นฐาน

1. ภาษาไทย

160

160

160

160

160

160

2. คณิตศาสตร์

160

160

160

160

160

160

3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

80

80

80

80

80

80

4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

40

40

40

40

40

40

5. ประวัติศาสตร์

40

40

40

40

40

40

6. สุขศึกษาและพลศึกษา

80

80

80

80

80

80

7. ศิลปะ

40

40

40

80

80

80

8. การงานพื้นฐานอาชีพ

40

40

40

40

40

40

9. ภาษาต่างประเทศ

200

200

200

160

160

160

รวมเวลาเรียน(พื้นฐาน)

840

840

840

840

840

840

รายวิชาเพิ่มเติม

1. การป้องกันการทุจริต (เพิ่มเติม)

40

40

40

40

40

40

คณิตศาสตร์ (เสริม)

ภาษาไทย (เสริม)

หน้าที่พลเมือง (บูรณาการ)

รวมเวลาเรียน (รายวิชาเพิ่มเติม)

40

40

40

40

40

40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

1. กิจกรรมแนะแนว

40

40

40

40

40

40

2. กิจกรรมนักเรียน

2.1 กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี

40

40

40

40

40

40

2.2 กิจกรรมชุมนุม-ลดเวลาเรียน

30

30

30

30

30

30

3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

10

10

10

10

10

10

รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน)

120

120

120

120

120

120

รวมเวลาทั้งหมด

1,000

1,000

1,000

1,000

1,000

1,000

หมำยเหตุวิชาหน้าที่พลเมือง บูรณาการกับวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


 

 


ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)


หลักฐานอ้างอิง :
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

4.1 จำนวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน

 

แหล่งเรียนรู้

ป.1

ป.2

ป.3

ป.4

ป.5

ป.6

ม.1

ม.2

ม.3

1. ห้องสมุดโรงเรียน

9

6

4

6

1

5

-

-

-

2. ห้องคอมพิวเตอร์

9

6

4

6

1

5

-

-

-

3.มุม/ป้ายความรู้

9

6

4

6

1

5

-

-

-

4.ห้องสหกรณ์โรงเรียน

9

6

4

6

1

5

-

-

-

5.ห้องครัว

9

6

4

6

1

5

-

-

-

6.ห้องครัว

9

6

4

6

1

5

-

-

-

7.ห้องส้วมสุขสันต์

9

6

4

6

1

5

-

-

-

8.ต้นไม้

9

6

4

6

1

5

-

-

-

9.ธนาคารขยะเพื่อการศึกษา

9

6

4

6

1

5

-

-

-

10.โรงเพาะเห็ด

9

6

4

6

1

5

-

-

-

11.แปลงเกษตร

9

6

4

6

1

5

-

-

-

รวม

9

6

4

6

1

5

-

-

-

4.2 จำนวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน

แหล่งเรียนรู้

ป.1

ป.2

ป.3

ป.4

ป.5

ป.6

ม.1

ม.2

ม.3

1. วัดเสม็ดโพธิ์ศรี

9

6

4

6

1

5

-

-

-

2. องค์การบริหารส่วนตำบลโขมง

9

6

4

6

1

5

-

-

-

3.ที่ทำการกลุ่มแม่บ้านตำบลโขมง

9

6

4

6

1

5

-

-

-

4.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโขมง

9

6

4

6

1

5

-

-

-

5.ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

9

6

4

6

1

5

-

-

-

6.ศูนย์ศึกษางานวิชาการเกษตรยางตอกทอย

9

6

4

6

1

5

-

-

-

7.มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

9

6

4

6

1

5

-

-

-

8.สวนป่าบ้านเกาะขวาง ตำบลโขมง

9

6

4

6

1

5

-

-

-

9.สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ตำบลโขมง

9

6

4

6

1

5

-

-

-

รวม

9

6

4

6

1

5

-

-

-

 

 


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  ดีเล
กระบวนการพัฒนา  
ผลการดำเนินงาน  

แบบสรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 1 : ด้านคุณภาพเด็ก

ระดับประเด็นพิจารณา เป็นรายโรงเรียน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ประเด็นการพิจารณาย่อย

ค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

ร้อยละ

ที่ได้

ผลการประเมิน

บรรลุ

ไม่บรรลุ

1.1 มีพัฒนาการด้านร่างกายแข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเอง

1) เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย

80.00

100

P

2) เด็กสามารถเคลื่อนไหวร่างกายอย่างคล่องแคล่วประสานสัมพันธ์และทรงตัวได้ดี

80.00

100

P

3) เด็กใช้มือ และตาประสานสัมพันธ์ได้ดี

80.00

83.33

P

4) เด็กมีสุขภาพอนามัยและสุขนิสัยที่ดี

80.00

90

P

5) เด็กปฏิบัติงานตามข้อตกลงเกี่ยวกับความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่น

80.00

100

P

6) เด็กรู้และปฏิบัติตนที่หลีกเลี่ยงสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย

80.00

100

P

1.2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้

1) เด็กร่าเริง แจ่มใส สามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ได้อย่างเหมาะสมกับบางสถานการณ์

80.00

93.33

P

 

2) เด็กมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อื่น

80.00

100

P

 

3) เด็กมีจิตสำนึกและค่านิยมที่ดี เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด

80.00

96.66

P

 

4) เด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก

80.00

90

P

 

5) เด็กมีเมตตา กรุณา มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน

80.00

100

P

 

 

 

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ประเด็นการพิจารณาย่อย

ค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

ร้อยละ

ที่ได้

ผลการประเมิน

บรรลุ

ไม่บรรลุ

6) เด็กชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว

80.00

100

P

1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

1) เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้

80.00

96.66

P

 

2) เด็กมีวินัยในตนเอง

80.00

96.66

P

 

3) เด็กมีความประหยัดและพอเพียง

80.00

93.33

P

 

4) เด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน

80.00

100

P

 

5 เด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทยและรักความเป็นไทย

80.00

93.33

P

 

6) เด็กยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล

80.00

100

P

 

7) เด็กเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

80.00

100

P

 

8) เด็กยอมรับการประนีประนอมแก้ไขปัญหา ข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง

80.00

100

P

 

1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

1) เด็กสามารถสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจได้

80.00

93.33

P

 

2) เด็กสามารถตั้งคำถามในสิ่งที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และ พยายามค้นหาคำตอบได้

80.00

90

P

 

3) เด็กสามารถอ่านนิทานและเล่าเรื่องที่ตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัยได้

80.00

100

P

 

4) เด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด

80.00

86.66

P

 

5) เด็กมีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

80.00

83.33

P

 

6) เด็กมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและตัดสินใจ

80.00

90

P

 

 

 

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา

ประเด็นการพิจารณาย่อย

ค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

ร้อยละ

ที่ได้

ผลการประเมิน

บรรลุ

ไม่บรรลุ

7) เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหว และท่าทางการเล่นอิสระ

80.00

100

P

 

8) เด็กสามารถใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นต้น เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ได้

80.00

100

P

เฉลี่ย

80.00

95.50

P

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  ดีลิ
กระบวนการพัฒนา  
ผลการดำเนินงาน  

แบบสรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ 2 : ด้านการบริหารจัดการ

ระดับประเด็นพิจารณา เป็นรายโรงเรียน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดเสมดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)

ประเด็นการพิจารณาย่อย

ระดับคุณภาพ

สรุประดับคุณภาพ

2.1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านสอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น

1) สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2561

ดีเลิศ

ดีเลิศ

2) สถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ที่เตรียมความพร้อมไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติ และกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ รวมทั้งสอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น

ดีเลิศ

2.2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน

1) สถานศึกษาจัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอน หรือจัดครูที่จบการศึกษาปฐมวัย หรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย

ยอดเยี่ยม

ยอดเยี่ยม

2) สถานศึกษาจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน

ยอดเยี่ยม

2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความ เชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

1) สถานศึกษาพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ดีเลิศ

ดีเลิศ

2) สถานศึกษาส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก

ดีเลิศ

3) สถานศึกษาส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม ใช้การการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล

ดีเลิศ

4) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และครอบครัว

ดีเลิศ

5) สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ โดยการใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC)

เป็นวิธีการในการพัฒนา

ดีเลิศ

2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ

1) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก

ยอดเยี่ยม

ยอดเยี่ยม

2) สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ

ยอดเยี่ยม

3) สถานศึกษาจัดมุมประสบการณ์ที่หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี สื่อเพื่อการสืบเสาะหาความรู้

ยอดเยี่ยม

ประเด็นการพิจารณาย่อย

ระดับคุณภาพ

สรุประดับคุณภาพ

2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด ประสบการณ์สำหรับครู

1) สถานศึกษาอำนวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครูอย่างเพียงพอและเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

ดีเลิศ

ดีเลิศ

2.6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

1) สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ของสถานศึกษากำหนด

ยอดเยี่ยม

ยอดเยี่ยม

2) สถานศึกษาจัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานที่สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน

ยอดเยี่ยม

3) สถานศึกษาประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานประจำปี

ยอดเยี่ยม

4) สถานศึกษานำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด

ยอดเยี่ยม

5) สถานศึกษาจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดทุกปีการศึกษา

ยอดเยี่ยม

สรุป

ดีเลิศ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  ดีเล
กระบวนการพัฒนา  
ผลการดำเนินงาน  

แบบสรุปผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานที่3 : การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ระดับประเด็นพิจารณา เป็นรายโรงเรียน

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี

ประเด็นการพิจารณา

ระดับคุณภาพ

สรุประดับคุณภาพ

3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

1) มีการวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดประสบการณ์/กิจกรรม และช่วยเหลืออย่างเหมาะสมกับเด็ก

ดีเลิศ

ดีเลิศ

2) จัดทำแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษา

ดีเลิศ

3) จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทุกด้านทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาอย่างสมดุล

ดีเลิศ

3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข

1) สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ ลงมือทำ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองอย่างมีความสุข

ดีเลิศ

ดีเลิศ

3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย

1) จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนได้สะอาด ปลอดภัย อากาศถ่ายเทสะดวก โดยเด็กมีส่วนร่วมในการจัดห้องเรียน

ดีเลิศ

ดีเลิศ

2) ใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก

ดีเลิศ

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

1) ใช้เครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย ตามสภาพจริง ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้อย่างเหมาะสม

ยอดเยี่ยม

ดีเลิศ

2) มีการวิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเด็กโดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม

ดีเลิศ

3) มีการนำผลการประเมินที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพเด็ก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ

ดีเลิศ

4) สถานศึกษานำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และจัดส่งรายงานการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด

ดีเลิศ

สรุป

ดีเลิศ

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  ดีเล
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร) ระดับการศึกษาปฐมวัย ปีการศึกษา 2563

มาตรฐาน / ประเด็นพิจารณา

ค่าเป้าหมาย

ร้อยละที่ผ่าน

ผลการดำเนินงาน

การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย

ระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ

แปรผล

บรรลุ

ไม่บรรลุ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

95.65

5

ยอดเยี่ยม

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

95.55

5

ยอดเยี่ยม

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

96.66

5

ยอดเยี่ยม

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

97.49

5

ยอดเยี่ยม

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

92.91

5

ยอดเยี่ยม

P

 

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

88.33

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 จัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

100

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ปานกลาง

P

ประเด็นพิจารณาที่ 4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

96.00

5

ยอดเยี่ยม

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์สำหรับครู

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 6 มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

94.00

4

ดีเลิศ

P

 

มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่างมีความสุข

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณา 3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ประเด็นพิจารณา 4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลกาประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และพัฒนาเด็ก

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

80.00

4

ดีเลิศ

P

 

ผลรวม 3 มาตรฐาน

ร้อยละ 80

ดีเลิศ

87.99

4

ดีเลิศ

P

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดีเลิศ
กระบวนการพัฒนา  

โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัด

การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีทั้งการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบโครงงาน รูปแบบ Stem Education รูปแบบActive leaning การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการแก้ปัญหาเป็นต้น เน้นเรื่องการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ ป.1 พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเสนอเทคนิคการสอนให้ตรงกับศักยภาพของผู้เรียน ครูทุกคนเข้าร่วม PLC เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการอ่านออกเขียนได้ ของนักเรียนทุกคนทุกระดับชั้น จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขได้ มี โครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนทั้งทางด้านวิชาการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนมีความคาดหวังให้ นักเรียนมีพฤติกรรม "เป็นคนดี เหนือสิ่งอื่นใด อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน โดยการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ตามวัยของผู้เรียน มุ่งจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา จัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน ผู้เรียนมีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
มีจิตอาสาให้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา คุณธรรม
อัตลักษณ์ของโรงเรียน การจัดกิจกรรมตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม ผ่านโครงการ ส่งเสริมคุณธรรมตามค่านิยม 12 ประการ ตามระดับชั้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมคุณธรรมนำชีวิต (สวดมนต์ทุกวันศุกร์) กิจกรรมจิตอาสา เช่น ร่วมกิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ร่วมเก็บขยะ ปลูกต้นไม้ เป็นต้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันและกันมีระบบการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมพัฒนาทักษะชีวิต ได้แก่ การปลูกผัก เลี้ยงไก่ไข่ เพาะเห็ด เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน  


ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน)

จำนวนผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด(คน)

***

ผลการประเมิน(ร้อยละ)

ผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน

 

 

 

 

 

 

 

1

มีความสามารถในการอ่าน การเขียน
การสื่อสาร และการคิดคำนวณ

 

 

80

31

25

80.77

4

 

1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการอ่านในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

ü

-

 

25

80.77

 

1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการเขียนในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

ü

-

 

25

80.77

 

1.3 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสารในแต่ละระดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

ü

-

 

25

80.77

 

1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคิดคำนวณในแต่ละดับชั้นตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

ü

-

 

25

80.77

2

มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา

80

31

25

86.45

4

 

2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบโดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ

ü

-

 

25

86.45

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน)

จำนวนผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด(คน)

***

ผลการประเมิน(ร้อยละ)

ผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

 

2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

ü

-

 

 

25

86.45

 

 

2.3 ร้อยละของผู้เรียนมีการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล

ü

-

 

 

25

86.45

 

3

มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

 

 

80

31

25

88.47

4

 

3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ได้ทั้งตัวเองและการทำงานเป็นทีม

ü

-

 

 

25

88.47

 

 

3.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต

ü

-

 

 

25

88.47

 

4

มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร

 

 

80

31

25

82.70

4

 

4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ü

-

 

 

25

82.70

 

 

4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม

ü

-

 

 

25

82.70

 

5

มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา

 

 

80

31

25

80.77

4

 

5.1 ร้อยละของผู้เรียนบรรลุการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา

ü

-

 

 

25

80.77

 

 

5.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิม

ü

-

 

 

25

80.77

 

 

5.3 ร้อยละของผู้เรียนมีความก้าวหน้าในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอื่น ๆ

ü

-

 

 

25

80.77

 

6

มีความรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ

 

 

80

31

26

82.70

4

 

6.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการศึกษาต่อ

 

ü

-

 

 

25

82.70

 

 

6.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีในการจัดการ การทำงานหรืองานอาชีพ

ü

-

 

 

25

82.70

 


ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดีเลิศ
กระบวนการพัฒนา  

1. กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัด
การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีทั้งการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบโครงงาน รูปแบบ Stem Education รูปแบบActive leaning การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง แบบใช้กระบวนการคิดกระบวนการแก้ปัญหาเป็นต้น เน้นเรื่องการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ ป.1 พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเสนอเทคนิคการสอนให้ตรงกับศักยภาพของผู้เรียน ครูทุกคนเข้าร่วม PLC เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการอ่านออกเขียนได้ ของนักเรียนทุกคนทุกระดับชั้น จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียนให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุขได้ มี โครงการและกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนทั้งทางด้านวิชาการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน โรงเรียนมีความคาดหวังให้ นักเรียนมีพฤติกรรม "เป็นคนดี เหนือสิ่งอื่นใด อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน โดยการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ตามวัยของผู้เรียน มุ่งจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา จัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน ผู้เรียนมีทักษะชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
มีจิตอาสาให้ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา คุณธรรม
อัตลักษณ์ของโรงเรียน การจัดกิจกรรมตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม ผ่านโครงการ ส่งเสริมคุณธรรมตามค่านิยม 12 ประการ ตามระดับชั้น จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมคุณธรรมนำชีวิต (สวดมนต์ทุกวันศุกร์) กิจกรรมจิตอาสา เช่น ร่วมกิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลาย ร่วมเก็บขยะ ปลูกต้นไม้ เป็นต้น แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันและกันมีระบบการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมพัฒนาทักษะชีวิต ได้แก่ การปลูกผัก เลี้ยงไก่ไข่ เพาะเห็ด เป็นต้น

 

2. จุดเด่น

ผลจากการประเมินการอ่านการเขียน ผู้เรียนมีความสามารถอ่านออกเขียนได้ ตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับชั้นอยู่ในระดับดี มีผลการประเมินการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์สามารถเขียนสื่อสารได้อยู่ในระดับดี มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร

 

 

 

3. จุดควรพัฒนา

1. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้นและควรจัดการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น (ผลการทดสอบRT ,NT, O-NET) โดยการร่วมมือกับทุกภาคส่วน การจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร ใช้สื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ NEW DLTV คลังข้อสอบจากเว็บไซต์ต่างๆ เช่นข้อสอบมาตรฐาน สทศ. การยกระดับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยการให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน

2. ควรมีการพัฒนาการวัดและประเมินผลในห้องเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัด
เน้นการประเมินโดยใช้ข้อสอบอัตนัยและประเมินตามสภาพจริง

3.ส่งเสริมนักเรียนจัดทำโครงงานเชิงบูรณาการด้านทักษะชีวิตคุณธรรมจริยธรรม งานอาชีพเน้นให้ผู้เรียนคิดเองทำเอง โดยใช้สื่อ แหล่งเรียนรู้ การค้นคว้า ออกแบบ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นตามหลักสูตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงาน  

คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน

 

 

 

 

 

 

 

1

การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

 

 

80

31

29

94.23

5

1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา

ü

-

 

 

29

94.23

 

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

จำนวนผู้เรียน ทั้งหมด (คน)

จำนวนผู้เรียนผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด(คน)

***

ผลการประเมิน(ร้อยละ)

ผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

1.2 ร้อยละของผู้เรียนมีค่านิยมและจิตสำนึกตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม

ü

-

 

 

29

94.23

 

2

ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

 

 

80

31

30

98.08

5

2.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่น เห็นคุณค่าของความเป็นไทย

ü

-

 

 

30

98.08

 

2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมทั้งภูมิปัญญาไทย

ü

-

 

 

30

98.08

 

3

การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย

 

 

80

31

30

98.08

5

- ร้อยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้านเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี

ü

-

 

 

30

98.08

 

4

สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม

 

 

80

31

29

96.16

5

 

4.1 ร้อยละของผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย

ü

-

 

 

 

29

 

96.16

 

4.2 ร้อยละของผู้เรียนสามารถอยู่ร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข เข้าใจผู้อื่น ไม่มีความขัดแย้งกับผู้อื่น

ü

-

 

 

 

29

 

96.16

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  ดีเลิศ
กระบวนการพัฒนา  

1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษาได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดกิจกรรมระดมความคิดเห็น ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาด้านต่างๆ ของสถานศึกษา รวมทั้งให้สอดคล้องกับนโยบายปฏิรูปการศึกษาของประเทศ จัดสรรงบประมาณ ทรัพยากรต่างๆ และมอบหมายงานให้แก่ผู้รับผิดชอบได้ดำเนินงานพัฒนางานตามแผนปฏิบัติการประจำปีให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน ผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงาน

2. จุดเด่น

สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ มีการกำหนดมาตรฐานสถานศึกษา กำหนดเป้าหมาย แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความชำนาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง และได้จัดให้มีชุมชมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และข้อมูลสารสนเทศ
มีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ เช่น มีเพจของโรงเรียน
hhttps://www.facebook.com/samatphosrischool.usuvitayacan เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของโรงเรียนได้ง่ายขึ้น สะดวกต่อการติดต่อประสานงานและอำนวย ความสะดวกในด้านต่าง ๆ ได้มากขึ้น มีการ ใช้ระบบกลุ่มใน Line มาใช้ในการบริหารจัดการ

3. จุดควรพัฒนา

สร้างคุณภาพในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนตามนโยบายปฏิรูปการศึกษา และความต้องการของชุมชน

 

4.ผลการประเมินด้านต่าง ๆ

4.1 สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา อยู่ในระดับ ดีเลิศ

4.2 การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.3การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

โดยมีเครือข่ายร่วมพัฒนาดังนี้

4.3.1 เครือข่าย เพื่อนช่วยเพื่อน

4.3.2 เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา

4.3.3 เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน

4.3.4 เครือข่ายชุมชนตำบลโขมง

4.3.5 เครือข่ายองค์กรปกครองท้องถิ่น

4.3.6 เครือข่ายกรรมการสถานศึกษา

4.3.7 เครือข่ายผู้มีอุปการคุณ

4.3.8 เครือข่ายวัดต่างๆ

4.3.9 เครือข่ายโรงพยาบาล

4.3.10 เครือข่ายโครงการคุ้งกระเบนตามแนวพระราชดำริ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


4.4 การนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผล อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

5.ร่องรอยหลักฐานโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 2

5.1แผนปฏิบัติการประจำปี

5.2 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

5.3 บันทึกการนิเทศภายในของโรงเรียน

5.4 แบบขออนุมัติไปราชการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนวัดเสม็ดโพธิ์ศรี(อุชุกวิทยาคาร)

5.5 แบบบันทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

5.6 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

5.7 รายงานกิจกรรมวันสำคัญต่างๆ

5.8 บันทึกการจัดการเรียนการสอน
5.9 หลักสูตรสถานศึกษา

5.10 ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

5.11 แฟ้มข้อมูลนักเรียนยากจนพิเศษ


ผลการดำเนินงาน  


ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

***

ค่าเป้าหมาย

ผลการประเมิน

คุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

1

มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน

4

ดีเลิศ

 

1.1 กำหนดเป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด

P

 

 

 

 

1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ ที่สอดคล้อง เชื่อมโยง กับเป้าหมาย แผนยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด

P

 

 

 

 

1.3 กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงของสังคม

P

 

 

 

 

1.4 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจผ่านความเห็นชอบ จากคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

P

 

 

 

 

1.5 นำเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของโรงเรียนเผยแพร่ ต่อสาธารณชน

P

 

 

 

2

มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

 

 

4

ดีเลิศ

2.1 มีการวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ

P

 

 

 

 

2.2 มีการนำแผนไปปฏิบัติ ติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง

P

 

 

 

 

2.3 มีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรทางการศึกษาจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และระบบการนิเทศภายใน

P

 

 

 

 

2.4 สถานศึกษามีการนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษา

P

 

 

 

 

2.5 สถานศึกษาให้บุคลากรและผู้ทีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน ปรับปรุง พัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

P

 

 

 

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

***

ค่าเป้าหมาย

ผลการประเมิน

คุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

3

ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย

 

 

4

ดีเลิศ

 

3.1 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

P

 

 

3.2 บริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ในด้านการพัฒนาหลักสูตรตามความต้องการของผู้เรียน ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ชุมชน และท้องถิ่น

P

 

 

3.3 บริหารจัดการเกี่ยวกับกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านเชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง

P

 

 

3.4 กำหนดหลักสูตรสถานศึกษาครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มเป้าหมาย

P

 

 

3.5 สถานศึกษามีการปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม

P

 

4

พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

 

 

4

ดีเลิศ

 

4.1 ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ

P

 

 

 

 

4.2 จัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

P

 

 

 

 

4.3 นำชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน

P

 

 

 

4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏิบัติงานของครู บุคลากร ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

P

 

 

 

4.5 ถอดบทเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการที่เป็นแบบอย่างที่ดีที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

 

P

 

 

 

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

***

ค่าเป้าหมาย

ผลการประเมิน

คุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

5

จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

 

 

4

ดีเลิศ

5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย

P

 

 

 

5.2 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และคำนึงถึงความปลอดภัย

P

 

 

 

5.3 จัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่ม

P

 

 

 

 

5.4 จัดสภาพแวดล้อมทางสังคม ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย

P

 

 

 

 

5.5 จัดให้ผู้เรียนได้ใช้ประโยชน์จากการจัดสภาพแวดล้อมตามศักยภาพของผู้เรียน

P

 

 

 

6

จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้

 

 

4

ดีเลิศ

6.1 ได้ศึกษาความต้องการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

P

 

 

 

6.2 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

P

 

 

 

6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

P

 

 

 

6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

 

P

 

 

 

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

***

ค่าเป้าหมาย

ผลการประเมิน

คุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

6.5 ติดตามผลการใช้บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการบริการจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา

P

 

สรุปผลการประเมิน

 

 

4

ดีเลิศ

หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว

*** ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพ = ผลรวมค่าเป้าหมาย

จำนวนประเด็นพิจารณาตามค่าเป้าหมาย

 

แปลผลระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินคุณภาพ

ปฏิบัติ1 ข้อ ระดับคุณภาพ กำลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ปฏิบัติ 2 ข้อ ระดับคุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ปฏิบัติ 3 ข้อ ระดับคุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ปฏิบัติ4 ข้อ ระดับคุณภาพ ดีเลิศ 3.50 – 4.49 ปฏิบัติ 5 ข้อ ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.50 – 5.00

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  ดีเลิศ
กระบวนการพัฒนา  

1. กระบวนการพัฒนา

สถานศึกษา ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับการพัฒนาการศึกษาในยุค 4.0 และเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ส่งเสริมให้ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะ Active learning ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และจุดเน้นของโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติจริง สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีการวัดประเมินผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและมีความหลากหลาย ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้รับการอบรมพัฒนาความรู้ที่ตรงกับความต้องการของครูและสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและมีการจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องทุกสัปดาห์ มีโครงการมีกิจกรรมการพัฒนา ซึ่งสถานศึกษามีผลการดำเนินงาน ดังนี้

1.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง โดยมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการ
Active Learning ซึ่งเน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าการเรียนแบบท่องจำเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก และเนื่องจากสถานศึกษามีผู้เรียนที่มีความแตกต่างทางการเรียนรู้ จึงต้องมีการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ ในรูปแบบของการเรียนรวม เพื่อให้นักเรียนทุกคนสามารถพัฒนาไปพร้อมกัน โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน

สรุปผลการประเมินร้อยละ 100 ระดับคุณภาพดีเยี่ยม

 

1.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ครูประจำวิชามีการผลิตสื่อที่มีความหลากหลาย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนและสามารถให้ผู้เรียน เรียนรู้สื่อได้อย่างอิสระ ทั้งในและนอกเวลาเรียน ประกอบด้วยสื่อ Power Point, Video, รูปภาพ, สื่อทำมือ และมีกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถผลิตสื่อขึ้นมาโดยเกิดจากการรวบรวมองค์ความรู้ด้วยตนเอง

สรุปผลการประเมินร้อยละ 100 ระดับคุณภาพดีเยี่ยม

 

1.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกสถานศึกษามีห้องเรียนที่สะอาด มีแสงสว่างเพียงพอ มีมุมเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา มีป้ายนิเทศที่สอดคล้องกับหลักสูตรและวาระสำคัญต่างๆ ครูผู้สอนมีการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นอย่างดี มีการทำข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น แต่ต้องรู้จักการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เข้าใจความแตกต่างของเพื่อนแต่ละคน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ไม่แบ่งแยก ทั้งในด้านเชื้อชาติและด้านความสามารถ มีวิธีการตัดสิน การแก้ไขปัญหาที่เป็นประชาธิปไตย นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 12 ประการ ประกอบด้วย โครงการวิธีพุทธ กิจกรรมจิตอาสา เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกัน ฝึกความสามัคคี ปลูกฝังค่านิยมสำหรับการเป็นพลเมืองที่ดีของประเทศชาติและเป็นประชากรที่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข

สรุปผลการประเมินร้อยละ 100 ระดับคุณภาพดีเยี่ยม

1.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ครูผู้สอนมีการวัดประเมินผลอย่างเป็นระบบ มีเครื่องมือที่หลากหลาย เช่น การใช้คำถามระหว่างจัดการเรียนการสอน การทำแบบฝึกหัด การทำรายงาน การนำเสนอผลงาน การผลิตชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งในแต่ละชิ้นงานสามารถวัดและประเมินผลผู้เรียนได้แตกต่างกันออกไป ตรวจสอบผู้เรียนว่ามีความเข้าใจหรือต้องการเรียนรู้เนื้อหาเพิ่มเติมด้านใดบ้าง เพื่อเสริมความรู้ให้แก่ผู้เรียน และยังสามารถนำผลที่ได้จากการประเมินไปปรับปรุงการสอน พัฒนาต่อเนื่องในการจัดการเรียนการสอนครั้งถัดไป มีการแจ้งผลการเรียนของผู้เรียนให้ผู้ปกครองทราบถึงความเปลี่ยนแปลงทั้งในทางที่ดี และในทางที่ต้องปรับปรุงแก้ไข

สรุปผลการประเมินร้อยละ 100ระดับคุณภาพดีเยี่ยม

1.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยมีการจัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องทุกสัปดาห์ โดยครูทุกคนร่วมกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันหาแนวทางแก้ปัญหาด้านการจัดการเรียนการสอนและการทำงานของนักเรียน ตามชั่วโมงการสอนที่ว่างตรงกันเพื่อไม่ให้กระทบต่อเวลาเรียนของนักเรียน นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างบ้านและโรงเรียน และนำสิ่งที่ได้รับมาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ โดยครูทุกคนจัดทำวิจัยในชั้นเรียนปีละ 1 เรื่อง และนำผลที่ได้จากการวิจัยไปพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

สรุปผลการประเมินร้อยละ 100ระดับคุณภาพดีเยี่ยม

2. จุดเด่น

ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน ครูใส่ใจและดูแลนักเรียนเป็นรายบุคคล

3. จุดควรพัฒนา

คณะครูควรศึกษารูปแบบการจัดการเรียนที่หลากหลายเพิ่มเติม เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสCovid – 19 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

 

4.ผลการประเมินด้านต่าง ๆ

4.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 


4.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม

 

4.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

 

4.4 การตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับ ดีเลิศ

 

4.5 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใช้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
อยู่ในระดับ ดีเลิศ

 

5. ร่องรอยหลักฐานโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับมาตรฐานที่ 3

5.1 แผนการจัดการเรียนรู้

5.2 ภาพประกอบของชุมชนที่เขามาร่วมกับโรงเรียน และที่โรงเรียนเข้าไปร่วมกับชุมชนในกิจกรรมต่างๆ

5.3 การจัดกิจกรรมของผู้เรียนด้านต่างๆ

5.4 กิจกรรมค่านิยม12 ประการ

5.5 กิจกรรมลูกเสือเนตรนารี

5.6 กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

5.7 แผนปฏิบัติการประจำปี

5.8 การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมDLTV

5.9 การเช่าสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง

5.10 ผลงานของนักเรียน

5.11 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

5.12 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

5.13 โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

5.14 เอกสารหลักฐานการวัดและประเมินผล

5.15 วิจัยในชั้นเรียน

5.16 เกียรติบัตรรางวัลต่างๆ

5.17 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน วัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ผลการดำเนินงาน  

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

จำนวน ครูทั้งหมด (คน)

จำนวนครูผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด(คน)

***

ผลการประเมิน(ร้อยละ)

ผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

1

จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้

 

 

100

5

5

100

ดีเยี่ยม

 

 

1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง

P

-

 

5

100

 

1.2 มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จริง

P

-

 

5

100

 

1.3 มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้เฉพาะสำหรับผู้ที่มีความจำเป็น และต้องการความช่วยเหลือพิเศษ

P

-

 

5

100

 

1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรียนได้แสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ และนำเสนอผลงาน

P

-

 

5

100

 

1.5 สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

P

-

 

5

100

2

ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

100

5

5

100

ดีเยี่ยม

 

1.1 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้

P

-

 

5

100

 

1.2 ใช้แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนรู้

P

-

 

5

100

 

1.3 สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากสื่อที่หลากหลาย

P

-

 

5

100

3

มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก

 

 

100

5

5

100

ดีเยี่ยม

 

 

3.1 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก

P

-

 

 

5

100

 

ประเด็นพิจารณา

การปฏิบัติงาน

เป้าหมาย

(ร้อยละ)

 

จำนวน ครูทั้งหมด (คน)

จำนวนครูผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด(คน)

***

ผลการประเมิน(ร้อยละ)

ผลการประเมินคุณภาพที่ได้

ปฏิบัติ

ไม่

ปฏิบัติ

 

3.2 ผู้สอนมีการบริหารจัดการชั้นเรียน ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข

P

-

5

100

4

ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน

 

 

100

5

5

5

ดีเยี่ยม

 

 

4.1 มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

P

-

 

 

 

 

 

 

4.2 มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้

P

-

 

 

 

 

 

 

4.3 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล

P

-

 

 

 

 

 

 

4.4 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้

P

-

 

 

 

 

 

5

มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

 

 

100

5

5

100

ดีเยี่ยม

 

 

5.1 และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้

P

-

 

 

 

 

 

 

5.2 นำข้อมูลป้อนกลับไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเอง

P

-

 

 

 

 

 

สรุปผลการประเมิน

100

ดีเยี่ยม

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  ดีเลิศ
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

แนวทางการพัฒนาในอนาคต

2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติจริงเป็นรายบุคคลได้ชัดเจนขึ้น

2.2 การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระตุ้นผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้น กำหนดให้ครูจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ เพื่อให้สอดคล้องกับการจัด
การเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน

2.3 การพัฒนาบุคลากรโดยการส่งเข้าอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในงานที่ได้รับมอบหมาย ติดตามผลการนำไปใช้และผลที่เกิดกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง

2.4 การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน

2.5 มีการประชุมคณะครูคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครองให้เป็นประจำและ

มีความต่อเนื่อง

 

3. ความต้องการและการช่วยเหลือ

3.1 การพัฒนาครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่21

3.2 การอบรมเชิงปฏิบัติการ การสร้างข้อสอบที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ตามแนวทางการประเมินRT NT และ PISA

3.3 การจัดสรรครูผู้สอนให้ตรงตามวิชาเอกที่โรงเรียนมีความต้องการและจำเป็น

3.4จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียนและองค์กร

3.5 จัดหาและเพิ่มเติมสื่ออุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย

 

ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

 

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

ด้านคุณภาพของผู้เรียน

ผลจากการประเมินการอ่านการเขียน นักเรียนปกติทุกระดับชั้นสามารถอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคนส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียแต่ละระดับชั้นอยู่ในระดับ ดีเลิศ มีผลการประเมินการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์สามารถเขียนสื่อสารได้อยู่ในระดับดีเลิศ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสามารถใช้เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ผ่านการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพและด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียน อย่างรอบด้านและครอบคลุม

ด้านคุณภาพของผู้เรียน

1. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานให้สูงขึ้นและควรจัดการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น (ผลการทดสอบ RT,NT, O-NET) โดยการร่วมมือกับทุกภาคส่วน การจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานตัวชี้วัดของหลักสูตร ใช้สื่อและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ NEW DLTV
คลังข้อสอบจากเว็บไซต์ต่างๆ เช่นข้อสอบมาตรฐาน สทศ. การยกระดับการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ โดยการให้ครูใช้สื่อเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
พัฒนาด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โรงเรียนจะต้องปรับเปลี่ยน การพัฒนานักเรียนในรายที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้

2. ควรมีการพัฒนาการวัดและประเมินผลในห้องเรียนให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัด
เน้นการประเมินโดยใช้ข้อสอบอัตนัยและประเมินตามสภาพจริง

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

3. ส่งเสริมนักเรียนจัดทำโครงงานเชิงบูรณาการด้านทักษะชีวิตคุณธรรมจริยธรรม งานอาชีพเน้นให้ผู้เรียนคิดเองทำเอง โดยใช้สื่อ แหล่ง

เรียนรู้ การค้นคว้า ออกแบบ เพื่อพัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นตามหลักสูตร ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ

สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ มีการกำหนดมาตรฐานสถานศึกษา กำหนดเป้าหมาย แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความชำนาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง และได้จัดให้มีชุมชมการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (
PLC) และข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมพัฒนาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ เช่น มีเพจของโรงเรียนhttps://www.facebook.com/samatphosrischool.usuvitayacan เพื่อให้ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนสามารถเข้าถึงระบบสารสนเทศของโรงเรียนได้ง่ายขึ้น สะดวกต่อการติดต่อประสานงานและอำนวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ได้มากขึ้น มีการ ใช้ระบบกลุ่มใน Line มาใช้ในการบริหารจัดการ

 

 

 

 

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ

สร้างคุณภาพของสถานศึกษาให้มีระบบบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาให้ประสิทธิภาพและชัดเจนยิ่งขึ้น พร้อมกับให้ชุมชมมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานศึกษาอย่างเต็มศักยภาพ

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน ครูใส่ใจและดูแลนักเรียนเป็นรายบุคคล ทำให้รู้จักนักเรียนแต่ละคนเป็นอย่างดี พร้อมทั้งเมื่อเกิดปัญหา สามารถหาทางออกในการแก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด

ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
คณะครูควรศึกษารูปแบบการจัดการเรียนที่หลากหลายเพิ่มเติม เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน และพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid – 19 เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพอย่างต่อเนื่อง


ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.3 ภาคผนวก
 https://drive.google.com/drive/folders/1jPehH3FFTQ3dVfUIDvu4iDoy_TcX8Tem?usp=sharing