รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

การศึกษาปฐมวัย ประเมินระดับคุณภาพในระดับ  ดี

กระบวนการพัฒนา

คุณภาพของเด็ก

นักเรียนมีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านที่ดี ร่าเริงแจ่มใส

 มีมนุษยสัมพันธ์ กล้าแสดงออก เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนและครูได้อย่างมีความสุข

นักเรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมและทำงานที่ได้รับมอบหมาย รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ด้วยตนเองได้ตามวัย

นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่รู้ รักการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และความคิดรวบยอด มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ในชั้นสูงขึ้น

 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมและมีภาวะผู้นำ

ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรม สัมมนาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ

wการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียน 

เป็นสำคัญ มีบุคลิกลักษณะที่เหมาะสมกับการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยครูได้รับการอบรม  สัมมนาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอและเอาใจใส่นักเรียน

ครูมีความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาผู้เรียนที่มีปัญหา

ครูมีการอุทิศเวลาในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุมาตรฐาน

 

 

 

ผลการดำเนินการ

นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานต่าง ๆเพิ่มมากขึ้น

นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด เชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม ส่งเสริมให้เด็กได้เล่น ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริง

นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมการติดตาม บันทึก และประเมินพัฒนาการของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ

 กระบวนการบริหารและการจัดการ

ผู้บริหารควรมีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ บันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน   เพื่อนำผลมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ผู้บริหารควรสร้างเครือข่ายฯความสัมพันธ์กับชุมชน

wการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

ครูควรแสวงหาความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

· ส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ

 

 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

โครงการที่ดำเนินการปีการศึกษา 2563

โครงการสนองการจัดการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย
-  โครงการพัฒนาพ่อ แม่ ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัย
- โครงการบ้านวิทยาศาสตร์น้อย
- โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านสติปัญญาสมวัยของเด็ก
- โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจของเด็ก
- โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านร่างกายของเด็ก
- โครงการส่งเสริมพัฒนาด้านสังคมสมวัยของเด็ก
- โครงการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนปฐมวัย
- โครงการบัณฑิตน้อย

โครงการสนองการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา
โครงการตามกลุ่มงานบริหารวิชาการ
- โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 
- โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน 
- โครงการนิเทศภายใน 
- โครงการพัฒนาระบบงานทะเบียนและวัดผล 
- โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 
- โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศ 
- โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสำหรับนักเรียนพิเศษเรียนร่วม 
- โครงการส่งเสริมวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง 
- โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและพัฒนาห้องสมุดมีชีวิต 
- โครงการส่งเสริมกิจกรรมตามนโยบายของรัฐบาล 
- โครงการส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โครงการตามกลุ่มงานบริหารงบประมาณ
- โครงการพัฒนาระบบบริหารงานงบประมาณ งานพัสดุ สินทรัพย์ และการตรวจสอบภายใน 
- โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี อย่างมีคุณภาพ 
- โครงการสาธารณูปโภค 
- โครงการอาหารกลางวัน
โครงการตามกลุ่มงานบริหารบุคคล
- โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคคลากรทางการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ
โครงการตามกลุ่มงานบริหารทั่วไป
- โครงการส่งเสริมวินัยประชาธิปไตยในโรงเรียน 
- โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 
- โครงการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 
-โครงการพัฒนาระบบบริหารงานธุรการ 
- โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ อาคารสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์ 
- โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและประเพณีวัฒนธรรม 
- โครงการดำเนินการตามแผนรับนักเรียน
 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

แผนพัฒนาระดับปฐมวัยเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น

ด้านคุณภาพของเด็ก 

จัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะต่าง ๆ ยังคงสภาพไว้ทั้งกระบวนการคิด เชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม ส่งเสริมให้นักเรียนได้เล่น ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริงเชื่อมโยงกับหน่วยการเรียนอย่างหลากหลายอยู่เสมอ นำเสนอผลงาน เล่าเรื่อง เล่าข่าว เล่านิทานตามความคิด จินตนาการ จากภาพ หนังสือนิทานในห้องเรียนและหน้าเสาธงเป็นประจำ ทั้งรายบุคคล และรายกลุ่ม

 

กระบวนการบริหารและการจัดการ

          ผู้บริหารมีการนิเทศติดตาม ส่งเสริม  สนับสนุน การพัฒนาครูปฐมวัยในด้านต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ เช่น  การส่งเสริม สนับสนุนการศึกษาดูงาน การประชุม อบรม ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกับการจัดการเรียนการสอน  เทคนิคการบริหารชั้นเรียน และการแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน เป็นต้น ซึ่งจะทำให้ครูสามารถนำมาปรับใช้พัฒนาตนเอง เพื่อส่งผลดีถึงคุณภาพของเด็กและสถานศึกษาที่มีคุณภาพ

 

การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

·      การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนขึ้น

·      การส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ

 

ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ

 

·      แผนงานที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ กับหน่วยงานต่าง ๆ  สถานศึกษาอื่น ตลอดจนชุมชน

·      ชัดเจนและควรมีการประเมินผล นำผลมาใช้ตัดสินการดำเนินงาน

·      บุคลากรทุกคนของโรงเรียนควรร่วมมือกันสร้างสัมพันธ์กับชุมชน 

·      มีการประชาสัมพันธ์โรงเรียนโดยจัดทำวารสารความเคลื่อนไหวในโรงเรียนเป็นประจำทุกเดือน

 


 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

1. ข้อมูลทั่วไป

โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1
ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 9/1 หมู่ 4ตำบลพวา อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี รหัสไปรษณีย์ 22160
โทรศัพท์ 0 3948 0743 โทรสาร-
E-mail
banbofaimaischool@gmail.com

เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื้อที่ 24 ไร่- งาน - ตารางวา
เขตพื้นที่บริการ 2 หมู่ ได้แก่ หมู่ 4 และหมู่ 12 ของหมู่บ้านบ่อไฟไหม้

วิสัยทัศน์โรงเรียน (Vision)

"โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ เป็นสถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ นักเรียนดีเด่นวิชาการ มีคุณธรรมและจิต สาธารณะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้คู่คุณธรรม ตามมาตรฐานการศึกษา สร้างคุณค่าโรงเรียนสุจริต บนพื้นฐานชีวิตความเป็นไทย ใส่ใจน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ (Mission) :

1. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีวินัย มีคุณธรรม จิตสาธารณะ มีความซื่อสัตย์สุจริตและ รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิต ที่สมบูรณ์

2. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สามารถใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ

3. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. จัดหลักสูตรและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

5. น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการให้เอื้อต่อการพัฒนาบุคลากร ผู้เรียนได้อย่างยั่งยืน

6. พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ ก้าวทันเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ให้รอบด้าน

เป้าประสงค์ (Goal) :

1. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
2. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

3. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. สถานศึกษามีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

5. ผู้เรียนมีทักษะการดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรมและสืบสานวัฒนธรรมไทย

6. ครูและบุคลากร มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่ความเป็นมืออาชีพ

1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1) จำนวนบุคลากร

บุคลากร

ผู้บริหาร

ข้าราชการครู

พนักงานราชการ

ครูอัตราจ้าง

เจ้าหน้าที่อื่น ๆ

รวมทั้งหมด

จำนวน

1

9

0

1

3

14

2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

บุคลากร

ต่ำกว่าปริญญาตรี

ปริญญาตรี

ปริญญาโท

ปริญญาเอก

รวมทั้งหมด

จำนวน

1

12

1

0

14

3) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา

จำนวน (คน)

ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คนในแต่ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์)

1. บริหารการศึกษา

1

-

2. ปฐมวัย

1

30

3. ประถมศึกษา

1

30

4. ประถมศึกษา

1

23

5. คณิตศาสตร์

1

23

6. วิทยาศาสตร์

1

23

7. คอมพิวเตอร์

1

30

8. สังคมศึกษา

1

30

9. ภาษาอังกฤษ

1

23

10. เกษตร

1

23

10. การตลาด

1

30


1.3 ข้อมูลนักเรียน
(ณ วันที่ 20 ก.ค. 2563)
จำนวนนักเรียนในโรงเรียนทั้งสิ้น 140 คน จำแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน

ระดับชั้นเรียน

จำนวนห้อง

เพศ

รวม

ชาย

หญิง

อนุบาล 2

1

7

5

12

อนุบาล 3

1

8

11

19

รวม

2

15

16

31

ประถมศึกษาปีที่ 1

1

16

8

24

ประถมศึกษาปีที่ 2

1

13

7

20

ประถมศึกษาปีที่ 3

1

10

6

16

ประถมศึกษาปีที่ 4

1

6

7

13

ประถมศึกษาปีที่ 5

1

7

13

20

ประถมศึกษาปีที่ 6

1

6

10

16

รวม

6

58

51

109

รวมทั้งหมด

73

67

140




การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

วิสัยทัศน์โรงเรียน(Vision)

"โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ เป็นสถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ นักเรียนดีเด่นวิชาการ มีคุณธรรมและจิต สาธารณะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้มี ความรู้คู่คุณธรรม ตามมาตรฐานการศึกษา สร้างคุณค่าโรงเรียนสุจริต บนพื้นฐานชีวิตความเป็นไทย ใส่ใจน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ(Mission):

๑. จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีวินัย มีคุณธรรม จิตสาธารณะ มีความซื่อสัตย์สุจริตและ รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิต ที่สมบูรณ์

๒. พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา สามารถใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ

๓. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นแหล่งเรียนรู้และมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

๔. จัดหลักสูตรและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

๕. น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการให้เอื้อต่อการพัฒนาบุคลากร ผู้เรียนได้อย่างยั่งยืน

๖. พัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพ ก้าวทันเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้ให้รอบด้าน

เป้าประสงค์ (Goal):

๑. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
๒. ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

๓. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

๔. สถานศึกษามีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพโดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

๕. ผู้เรียนมีทักษะการดำรงชีวิตอยู่บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีคุณธรรมและสืบสานวัฒนธรรมไทย

๖. ครูและบุคลากร มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้สู่ความเป็นมืออาชีพ

ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 9 0 2 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา

โครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

          เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามหลักการ  จุดหมายที่กำหนดไว้ให้สถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงดูเด็กปฏิบัติ  ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาจึงกำหนดโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ ดังนี้

โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐

ช่วงอายุ

อายุ  ๓  -   ๖  ปี

สาระการเรียนรู้

ประสบการณ์สำคัญ

สาระที่ควรเรียนรู้

- ด้านร่างกาย

- ด้านอารมณ์  จิตใจ

- ด้านสังคม

- ด้านสติปัญญา

- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก

- เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก

- ธรรมชาติรอบตัว

- สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

ระยะเวลาเรียน

จัดการศึกษา  ๒  ภาคเรียน : ๑ ปีการศึกษา

ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ อายุระหว่าง ๓-๔ ปี

ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ อายุระหว่าง ๔-๕ ปี

ชั้นอนุบาลปีที่ ๓ อายุระหว่าง ๕-๖ ปี

ไม่น้อยกว่า ๑๘๐ วัน : ๑ ปี  ใช้เวลา ๕-๖ ชั่วโมง : ๑ วัน

๒๕-๓๐ ชั่วโมง/สัปดาห์

หมายเหตุ        ๓-๔ ปี มีความสนใจ ๘ - ๑๒  นาที

                    ๔-๕ ปี มีความสนใจ ๑๒ - ๑๕ นาที

                    ๕-๖ ปี มีความสนใจ ๑๕ -  ๒๐  นาที

* กิจกรรมที่ต้องใช้ความคิดในกลุ่มเล็กและกลุ่มใหญ่ ไม่ควรใช้เวลาต่อเนื่องนานเกินกว่า ๒๐ นาที

* กิจกรรมที่เด็กมีอิสระเลือกเล่นเสรี เช่น การเล่นตามมุม การเล่นกลางแจ้ง ใช้เวลา ๔๐ – ๖๐ นาที

 


๑. โครงสร้างเวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ พุทธศักราช ๒๕๖3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐)กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม

เวลาเรียน(ชั่วโมง/ปี)

ระดับประถมศึกษา

ป. ๑

ป. ๒

ป. ๓

ป. ๔

ป. ๕

ป. ๖

 

— กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาไทย

๒๐๐

๒๐๐

๒๐๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

คณิตศาสตร์

20๐

20๐

20๐

๑๖๐

๑๖๐

๑๖๐

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๘๐

๘๐

๘๐

12๐

๘๐

๘๐

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

- ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

- วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม

- เศรษฐศาสตร์

- ภูมิศาสตร์

๔๐

 

๔๐

 

๔๐

 

๘๐

 

 

๘๐

 

 

๘๐

 

 

ประวัติศาสตร์

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

สุขศึกษาและพลศึกษา

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

ศิลปะ

๔๐

๔๐

๔๐

๘๐

๘๐

๘๐

การงานอาชีพ

๔๐

๔๐

๔๐

4๐

4๐

4๐

ภาษาต่างประเทศ

16๐

16๐

16๐

๘๐

๘๐

๘๐

รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน)

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

๘๔๐

— รายวิชาเพิ่มเติม

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม

40

40

40

40

40

40

หน้าที่พลเมือง

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

การป้องกันการทุจริต

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม)

120

120

120

120

120

120

— กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

๑๒๐

กิจกรรมแนะแนว

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

๔๐

กิจกรรมนักเรียน

- กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี

- ชุมนุม

๓๐

๔๐

๓๐

๔๐

๓๐

๔๐

๓๐

๔๐

๓๐

๔๐

๓๐

๔๐

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

๑๐

รวมเวลาเรียนทั้งหมด

๑,๐80 ชั่วโมง/ปี

๒. โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละชั้นปี

 

โครงสร้างหลักสูตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี

รหัส

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม

เวลาเรียน(ชม./ปี)

รายวิชาพื้นฐาน

(๘๔๐)

ท ๑๑๑๐๑

ภาษาไทย ๑

๒๐๐

ค ๑๑๑๐๑

คณิตศาสตร์ ๑

20๐

ว ๑๑๑๐๑

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑

๘๐

ส ๑๑๑๐๑

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๑

๔๐

ส ๑๑๑๐๒

ประวัติศาสตร์ ๑

๔๐

พ ๑๑๑๐๑

สุขศึกษาและพลศึกษา ๑

๔๐

ศ ๑๑๑๐๑

ศิลปะ ๑

๔๐

ง ๑๑๑๐๑

การงานอาชีพ ๑

๔๐

อ ๑๑๑๐๑

ภาษาอังกฤษ ๑

160

รายวิชาเพิ่มเติม

(120)

อ 11201

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม 1

40

ส ๑๑๒๐๑

หน้าที่พลเมือง ๑

๔๐

ส 11202

การป้องกันการทุจริต 1

40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

(๑๒๐)

ก 11901

แนะแนว

๔๐

ก 11902

ลูกเสือ/ยุวกาชาด

๔๐

ก 11903

ชุมนุม

๓๐

ก 11904

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

๑๐

รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

,๐80

 

หมายเหตุ

กิจกรรมชุมนุมนักเรียนเข้าเรียนตามระดับชั้นที่เรียน

 

 

 

 

 

 

โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่๒

โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี

รหัส

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม

เวลาเรียน(ชม./ปี)

รายวิชาพื้นฐาน

(๘๔๐)

ท ๑๒๑๐๑

ภาษาไทย ๒

๒๐๐

ค ๑๒๑๐๑

คณิตศาสตร์ ๒

20๐

๑๒๑๐๑

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒

๘๐

ส ๑๒๑๐๑

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๒

๔๐

ส ๑๒๑๐๒

ประวัติศาสตร์ ๒

๔๐

พ ๑๒๑๐๑

สุขศึกษาและพลศึกษา ๒

๔๐

ศ ๑๒๑๐๑

ศิลปะ ๒

๔๐

ง ๑๒๑๐๑

การงานอาชีพ ๒

๔๐

อ ๑๒๑๐๑

ภาษาอังกฤษ ๒

160

รายวิชาเพิ่มเติม

(120)

อ 12201

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม 2

40

ส ๑๒๒๐๑

หน้าที่พลเมือง ๒

๔๐

ส 12202

การป้องกันการทุจริต 2

40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

(๑๒๐)

ก 12901

แนะแนว

๔๐

ก 12902

ลูกเสือ/ยุวกาชาด

๔๐

ก 12903

ชุมนุม

๓๐

ก 12904

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

๑๐

รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

,๐80

 

หมายเหตุ

กิจกรรมชุมนุมนักเรียนเข้าเรียนตามระดับชั้นที่เรียน

โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

โรงเรียนบ้านบ่อไฟไหม้ อำเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี

รหัส

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม

เวลาเรียน(ชม./ปี)

รายวิชาพื้นฐาน

(๘๔๐)

ท ๑๓๑๐๑

ภาษาไทย ๓

๒๐๐

ค ๑๓๑๐๑

คณิตศาสตร์ ๓

20๐

๑๓๑๐๑

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓

๘๐

ส ๑๓๑๐๑

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓

๔๐

ส ๑๓๑๐๒

ประวัติศาสตร์ ๓

๔๐

พ ๑๓๑๐๑

สุขศึกษาและพลศึกษา ๓

๔๐

ศ ๑๓๑๐๑

ศิลปะ ๓

๔๐

ง ๑๓๑๐๑

การงานอาชีพ ๓

๔๐

อ ๑๓๑๐๓

ภาษาอังกฤษ ๓

160

รายวิชาเพิ่มเติม

(120)

อ 13201

ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม 3

40

ส ๑๓๒๐๑

หน้าที่พลเมือง ๓

๔๐

ส 13202

การป้องกันการทุจริต 3

40

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

(๑๒๐)

ก 13901

แนะแนว

๔๐

ก 13902

ลูกเสือ/ยุวกาชาด

๔๐

ก 13903

ชุมนุม

๓๐

ก 13904

กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

๑๐

รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น

,๐80

 

 


ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)

ส่วนที่ 1 เป็นสนามกีฬา 3 สนาม ได้แก่
สนามฟุตบอล (กว้าง
x ยาว) 55 x 85 ตารางเมตร
สนามตะกร้อ (กว้าง
x ยาว) 16 x 26 ตารางเมตร
สนามวอลเลย์บอล (กว้าง
x ยาว) 13 x 22 ตารางเมตร
ส่วนที่ 2 เป็นอาคารเรียน 2 หลัง ได้แก่
อาคารเรียนแบบ สปช.105/29 1 หลัง
อาคารอนุบาล 1 หลัง
ส่วนที่ 3 เป็นอาคารประกอบ 3 หลัง ได้แก่
ห้องสมุด 1 หลัง
หอประชุม 1 หลัง
โรงอาหาร 1 หลัง

หลักฐานอ้างอิง :
ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

จำนวนนักที่ใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ปีการศึกษา 2563
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน ได้แก่ ห้องสมุด, ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และแปลงเกษตร
ชั้น ป.1 จำนวน 19 คน
ชั้น ป.2 จำนวน 22 คน
ชั้น ป.3 จำนวน 15 คน
ชั้น ป.4 จำนวน 14 คน
ชั้น ป.5 จำนวน 21 คน
ชัน ป.6 จำนวน 16 คน


จำนวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา 2563
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงทำให้นักเรียนไม่สามารถเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียนได้


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

1.กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนส่งเสริมผู้เรียนให้มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา โดยได้ดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมพัฒนาการและศักยภาพเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการเล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬากิจกรรมกายบริหารทุกวัน มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงการออกกำลังกาย เคลื่อนไหวประกอบจังหวะและการเล่นเครื่องเล่นที่สนามเด็กเล่น รวมทั้งการส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารเสริม(นม)และอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบ ๕ หมู่ กิจกรรมเวทีคนเก่งให้เด็ก ๆ ได้กล้าแสดงออกเป็นการปลูกฝังในเรื่องความมั่นใจ นักเรียนจะมีความรู้สึกภูมิใจที่ตนเองทำได้ โดยจัดกิจกรรม ๖ กิจกรรมหลักให้กับนักเรียน ดังนี้ เคลื่อนไหว สร้างสรรค์ เสรี เสริมประสบการณ์ กลางแจ้ง และเกมการศึกษา ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม สติปัญญาของนักเรียน โดย ปลูกฝังให้นักเรียนกล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มฝึกให้นักเรียนควบคุมอารมณ์ของตนเอง แสดงความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและได้เรียนรู้การอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรมวันสำคัญ ฝึกความกตัญญูเสียสละ และสามัคคี โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการ บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย กิจกรรมส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ระดับปฐมวัยทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง
การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา
ปลูกฝังให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ได้ทำผลงานด้วยตนเอง และได้ซักถาม นำเสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย

ผลการดำเนินงาน  

2.ผลการดำเนินงาน

จัดกิจกรรมการเรียนรู้และดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลายจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามศักยภาพของผู้เรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา นักเรียนมีน้ำหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด

มีความร่าเริงแจ่มใส มั่นใจกล้าแสดงออก ควบคุมอารมณ์ของตนเองและชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหวและรักธรรมชาติ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปันเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ มีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1qb3F84NaRHeBPWc-4vL7VSmOA7uP2g4K/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา  

1.กระบวนการพัฒนา

โรงเรียน จัดระบบบริหารจัดการ แบ่งโครงสร้างการบริหารงานออกเป็น ๔ ฝ่ายคือ งานบริหารวิชาการ งานบริหารงบประมาณ งานบริหารบุคคล และงานบริหารทั่วไป จัดโครงการ จัดหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร ให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการประชุมภาคเรียนละ ๒ ครั้ง มีการบริหารจัดการให้มีครูที่มีความรู้ความสามารถด้านปฐมวัยจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการนิเทศภายอย่างเป็นระบบ จัดสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร ร่มรื่น สวยงาม สะอาด เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมให้บุคลากรร่วมกันทำงานตามความเหมาะสมกับความรู้ความสามารถและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการสำรวจความพึงพอใจในการบริหารจัดการศึกษาและประชุมส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนมีการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาเพื่อพัฒนาการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่ และบุคลากร นอกจากนี้ยังมีโครงการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากร อันจะเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนพัฒนาศักยภาพและมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริหารสนับสนุนการให้ครูเข้ารับการอบรมสัมมนาและศึกษาดูงาน

 


ผลการดำเนินงาน  

2.ผลการดำเนินงาน

จัดกิจกรรมส่งเสริมและดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล


ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1EeyzYZ-sGDuS-Yyf6Ji2RdCGmqyIqunu/view?usp=sharing
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  

1.กระบวนการพัฒนา

โรงเรียนส่งเสริมให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลโดยได้ดำเนินงานตามโครงการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ส่งครูเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กิจกรรมวิจัยในชั้นเรียนในการซ่อมเสริมและแก้ไขปัญหาในการเรียน รวมถึงแก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนด้วย

 

 

 

 


ผลการดำเนินงาน  

2.ผลการดำเนินงาน

จัดกิจกรรมส่งเสริมและดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม เพื่อส่งเสริมให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลรู้และเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการจัดประสบการณ์จัด ทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดการ เรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคลบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวกใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กใช้ เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง วิจัยในชั้นเรียนที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์จัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง พัฒนาครูให้มีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัยและจัดทำสารนิทัศน์และนำมาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก


ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1XHD0tmEo0L6ESkCPut7F4NVxR80IlSen/view?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
คุณภาพของเด็ก
นักเรียนมีพัฒนาการทั้ง ๔ ด้านที่ดี ร่าเริงแจ่มใส
 มีมนุษยสัมพันธ์ กล้าแสดงออก เล่นและทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนและครูได้อย่างมีความสุข
นักเรียนมีวินัย ความรับผิดชอบ มุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมและทำงานที่ได้รับมอบหมาย รู้จักปรับตัวเข้ากับสังคมได้ดี สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ด้วยตนเองได้ตามวัย
นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่รู้ รักการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และความคิดรวบยอด มีความพร้อมที่จะเรียนรู้ในชั้นสูงขึ้น

กระบวนการบริหารและการจัดการ
ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา  มีคุณธรรม จริยธรรมและมีภาวะผู้นำ
ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรม  สัมมนาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ
การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ครูมีคุณวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียน 
เป็นสำคัญ มีบุคลิกลักษณะที่เหมาะสมกับการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยครูได้รับการอบรม  สัมมนาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอและเอาใจใส่นักเรียน
ครูมีความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาผู้เรียนที่มีปัญหา
ครูมีการอุทิศเวลาในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุมาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานต่าง ๆเพิ่มมากขึ้น
นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมทักษะกระบวนการคิด เชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม ส่งเสริมให้เด็กได้เล่น ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริง
นักเรียนควรได้รับการส่งเสริมการติดตาม บันทึก และประเมินพัฒนาการของนักเรียนอย่างสม่ำเสมอ

กระบวนการบริหารและการจัดการ
ผู้บริหารควรมีการนิเทศติดตามอย่างเป็นระบบ บันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน   เพื่อนำผลมาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผู้บริหารควรสร้างเครือข่ายฯความสัมพันธ์กับชุมชน
การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ครูควรแสวงหาความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

· ส่งเสริมให้ครูเห็นความสำคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดทำการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มศักยภาพ


ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/file/d/1Cx_LOi0azijZ68SVZE5aZv5uBKJDpp_O/view?usp=sharing
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  

สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ระบบ WIFI ภายในโรงเรียน, ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องสมุด ครูมีการร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน
       นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดย จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตร โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบ ๆ สถานศึกษา และเพิ่มเวลารู้เรื่องอาชีพ เช่น การทำเกษตร การทำขนมหวาน การทำอาหาร เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน  ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและอ่านคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสดงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียน รู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกำลังกาย ผู้เรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/drive/folders/15OS97nH6ko2mBJrxVVE9NzPq2G7fbPKn?usp=sharing
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  

สถานศึกษามีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน และเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน โดยมีการจัดการเรียนรู้ทั้งรูปแบบการระดมสมอง แบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ แบบใช้กระบวนการคิด กระบวนการใช้ปัญหาเป็นหลัก และเน้นเรื่องการอ่านออกของผู้เรียนเป็นเรื่องสำคัญที่สุด โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถในการนำเทคนิควิธีสอนให้ตรงตามศักยภาพผู้เรียน ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน มีแหล่งเรียนรู้และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ระบบ WIFI ภายในโรงเรียน, ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องสมุด ครูมีการร่วมกันกำหนดแผนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ ครูเน้นการใช้คำถามเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน

นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เน้นการพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดย จัดกิจกรรมการพัฒนาให้เหมาะสมกับวัย พัฒนาคุณธรรมผู้เรียนตามหลักสูตร โตไปไม่โกง เน้นให้ผู้เรียนมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และมีจิตสาธารณะ มีระบบการแนะแนวและการดูแลสุขภาวะจิต การเข้าไปศึกษากับภูมิปัญญาในชุมชนรอบ ๆ สถานศึกษา และเพิ่มเวลารู้เรื่องอาชีพ เช่น การทำเกษตร การทำขนมหวาน การทำอาหาร เป็นต้น
ผลการดำเนินงาน  ในด้านผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและอ่านคล่องตามมาตรฐานการอ่านในแต่ละระดับชั้น สามารถเขียนสื่อสารได้ดี รู้จักการวางแผนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสดงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ จำแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี สำคัญ จำเป็น รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียน รู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของสิ่งเสพติดต่างๆ เลือกรับประทานอาหารที่สะอาด และมีประโยชน์ รักการออกกำลังกาย ผู้เรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท ยอมรับในกฎกติกาของกลุ่ม ของสถานศึกษา ของสังคม มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวมถึงมีความเข้าใจเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและระหว่างวัย
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/drive/folders/15OS97nH6ko2mBJrxVVE9NzPq2G7fbPKn?usp=sharing
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  

โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดการศึกษาตามนโยบายการปฏิรูปการศึกษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็น จากบุคลากรในสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อวางแผนร่วมกันกำหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดำเนินการพัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน และสรุปผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน  

.๑ สถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูปการศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษาชาติ

.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง ข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ ดำเนินการอย่างเป็นระบบ และมีกิจกรรมจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้

.๓ สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมรับผิดชอบ

.๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบ รับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

.๕ สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

.๖ สถานศึกษามีรูปแบบการบริหารและการจัดการเชิงระบบ โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วมยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา

.๗ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากรเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้สถานศึกษามีสื่อ และแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/drive/folders/1FC45rbqIgLT46vQpbZlc3D3sGvumL_TB?usp=sharing
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  ดี
กระบวนการพัฒนา  

โรงเรียนดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล มีการบูรณาการภาระงาน ชิ้นงาน โดยทุกระดับชั้นจัดทำหน่วยบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สัดส่วนคะแนนแต่ละหน่วยกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการคิด เช่น จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ครูมีการมอบหมายหน้าที่ให้ผู้เรียนจัดป้ายนิเทศ และบรรยากาศตามสถานที่ต่าง ๆ ทั้งภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทำงานวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง

ผลการดำเนินงาน  

โรงเรียนดำเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม อย่างหลากหลาย ดังนี้

๒.๑ โครงการสนองแผนงานจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 2๐ โครงการ
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 https://drive.google.com/drive/folders/1xv7dvjqHQG_vGNGYK1ExW7jpxlhUiLhG?usp=sharing
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.3 ภาคผนวก