รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนวัดหมูดุด

 ส่วนที่ 1 บทสรุปผู้บริหาร
 1.1 ภาพรวมของคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

สรุปผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

สรุปผลการดำเนินงานในภาพรวม

โรงเรียนวัดหมูดุดได้พัฒนาขึ้นจากเดิม  โดยได้รับความร่วมมือจากชุมชน ผู้ปกครองนักเรียนให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ จนส่งผลให้โรงเรียนพัฒนาผู้เรียนได้ดีขึ้นในระดับหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นด้านอาคารสถานที่  สื่อทางเทคโนโลยี  ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้  มีคุณธรรม จริยธรรม  มีความถนัดด้านกีฬา การสร้างอาชีพโดยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ส่งเสริมกิจกรรมความเป็นเลิศทางวิชาการด้านต่างๆ และได้รับการยกย่องจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1  ว่าเป็นสถานศึกษาที่เป็นเลิศในการส่งเสริมพัฒนาบุคลากร  ประจำปี พ.ศ. 2563 และเป็นสถานศึกษาที่มีผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ปีการศึกษา 2562 ในกลุ่มสาระวิชาภาษาไทย  สูงกว่าร้อยละ 50 ทำให้โรงเรียนได้รับการยอมรับจากชุมชนและผู้ปกครอง   
การพัฒนาด้านบุคลากร โรงเรียนสนับสนุนให้คณะครูได้พัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ และได้รับการยกย่องจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1 ว่าเป็น"บุคคลแห่งการเรียนรู้และพัฒนาตนเองด้วยระบบดิจิทัล ประจำปี พ.ศ. 2563”  และส่งผลให้บุคลากรได้รับการยอมรับจากชุมชนและหน่วยงานต้นสังกัด 
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม SWOT
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในของโรงเรียน (Internal analysis )

ปัจจัยภายใน

จุดแข็ง(Strengths)

จุดอ่อน(Weaknesses)

ยุทธศาสตร์

-   มียุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพ
    การศึกษาที่ชัดเจนและเหมาะสมกับบริบท
    ของโรงเรียน โดยเน้นการน้อมนำหลัก
    ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากำหนดเป็น
    ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
    ของโรงเรียน
   

-  ยุทธศาสตร์บางยุทธศาสตร์ซึ่งโรงเรียน
   ล้อมาจากต้นสังกัดดำเนินการได้บางส่วน
   เนื่องจากเป็นยุทธศาสตร์ที่เกินอำนาจของ
   โรงเรียน

โครงสร้าง องค์กร การบริหารงาน

-  มีการกำหนดโครงสร้างการบริหารที่ชัดเจน
-  มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตาม
   โครงสร้างการบริหาร
-  ภาระงานตามโครงสร้างการบริหารมีความ
   เหมาะสมกับภารกิจของโรงเรียน

-  โครงสร้างการบริหารขาดความยืดหยุ่น

ระบบองค์กร

-  มีรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาที่น้อม
   นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
   ประยุกต์ใช้
-  มีระบบการประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็ง
-  มีวัฒนธรรมองค์กรที่ดี ทำให้องค์กรเข้มแข็ง
-  องค์กรมีขนาดเล็กสามารถขับเคลื่อนได้ง่าย
   และเร็วกว่าองค์กรขนาดใหญ่
-  องค์มีการพัฒนา (OD) อย่างเป็นระบบ
   ต่อเนื่อง และยั่งยืน
-  องค์กรมีสถานภาพเป็นนิติบุคคล
-  องค์กรมีความเป็นเอกภาพ
-  องค์กรมีเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ที่ชัดเจน

-  ระบบการติดตามประเมินผลยังขาดความ
   ชัดเจนการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ

ทักษะของบุคลากร

-  บุคลากรเป็นผู้มีประสบการณ์ ความรู้
   ความสามารถ  ในวิชาชีพ
-  บุคลากรมีความสามารถ ด้านดนตรีไทย
- บุคลากรมีความสามารถด้านภาษาอังกฤษ
- บุคลากรมีความสามารถด้านกีฬา
- บุคลากรส่วนใหญ่มีทักษะการใช้
   คอมพิวเตอร์

-  ขาดครูวิชาเอกภาษาไทย
-  ขาดครูวิชาเอกคณิตศาสตร์
-  ขาดครูวิชาเอกบรรณารักษ์
-  ขาดครูวิชาเอกศิลปะ
-  ขาดครูที่มีความสามารถด้านนาฏศิลป์

บุคลากร

-  กำลังใจเกินร้อย  ความเสียสละ  ความทุ่มเท
   เต็มความสามารถ พร้อมให้บริการ
-  ความสมัครใจทำงานร่วมกัน  ความ
   เตรียมพร้อมและรับปัญหาพร้อมกับแก้ไข
   ร่วมกัน  ความรับผิดชอบ
-  บุคลากรมีความพร้อม ความเสียสละ ตั้งใจ
   ทำงาน  มีความรับผิดชอบในหน้าที่  ในการ
   ทำงานร่วมกัน
-  บุคลากรมีอายุเฉลี่ยไม่สูงมาก

-  ครูไม่ครบชั้นเรียน
-  ครูสอนไม่ตรงเอกการศึกษาที่จบ
   เป็นส่วนใหญ่

ความพร้อมของอาคารสถานที่  สื่อ การสอน และเทคโนโลยีที่จำเป็น

-  ภูมิทัศน์ของโรงเรียนมีความร่มรื่น  สวยงาม
-  มีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
-  มีสื่อการสอนที่ทันสมัย
-  มีขนาดพื้นที่ของโรงเรียนที่พอเหมาะดูแล
   รักษาง่าย  
- โรงเรียนมีรถตู้ของโรงเรียน จำนวน 2 คัน

- อาคารเรียนมีอายุการใช้งานมานานแล้ว
- ห้องที่จะจัดเป็นห้องพิเศษต่าง ๆ มีจำกัด
  ต้องแบ่งห้องเรียนทำเป็นห้องพิเศษบ้าง
- สื่อการสอนยังไม่เพียงพอ
- คอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการเรียนรู้ยังไม่
  เพียงพอ

รูปแบบการนำองค์กร

-  มีรูปแบบและแบบแผนที่ชัดเจนโดยน้อมนำ
   หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
   ประยุกต์ใช้ในการบริหารโรงเรียน
-  ทำงานเป็นระบบ
-  มีการวางแผนในการทำงานได้ชัดเจน
-  มีการจัดทำแผนงานไว้เป็นระบบ
-  มีความร่วมมือ  ร่วมคิด  ร่วมทำ และร่วมชื่น
   ชมในความสำเร็จ

-  การกระจายอำนาจยังดำเนินการได้ไม่มาก
   เนื่องจากกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ

งบประมาณ

-  ได้รับการสนับสนุนจากวัด  ชุมชน และ
   หน่วยงานต่าง ๆ 
-  ได้รับเงินอุดหนุนตามโครงการเรียนฟรี 15 ปี
   อย่างมีคุณภาพ
-  ได้รับเงินอุดหนุนเพิ่มเติมจากปกติเนื่องจาก
   อยู่ในเกณฑ์โรงเรียนขนาดเล็ก
-  ระเบียบการใช้เงินอุดหนุนมีความยืดหยุ่น
   มากขึ้น
-  มีการบริหารจัดการงบประมาณโดยยึดหลัก
   ธรรมาภิบาล(Goodgovernace)

 -  ได้รับเงินอุดหนุนรายหัวนักเรียนน้อย
    เนื่องจากจำนวนนักเรียนมีน้อย

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของโรงเรียน  (External analysis)

ปัจจัยภายนอก

โอกาส(Opportunities)

อุปสรรค(Threats)

ผู้รับบริการ

-  ผู้ปกครองมีความพึงพอใจการจัดการศึกษา
   ของโรงเรียนชุมชนมีความพึงพอใจการจัด
   การศึกษาของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน
   ชุมชน และวัดให้ความร่วมมือและ
   สนับสนุนโรงเรียนอย่างดีและสม่ำเสมอ 

-  โรงเรียนมีเขตบริการเพียง 2 หมู่ คือ
   หมู่ที่ 4 , 7  หมู่บ้านหมูดุด   
   ต.คลองขุด
-  เด็กในเขตบริการมีน้อยเนื่องจาก  
   จำนวนครัวเรือนน้อย
-  อัตราการเกิดของเด็กต่ำ
-  ผู้ปกครองนักเรียนส่วนใหญ่มีอาชีพ
   รับจ้าง  และ มีฐานะยากจน

สถานการณ์ทางการเมือง

-  ระดับท้องถิ่น เช่น อบจ.ให้ความสำคัญกับ
   การศึกษาและสนับสนุนสื่อ อุปกรณ์การเรียน
   การสอน อุปกรณ์กีฬา และงบประมาณให้กับ
   สถานศึกษามากขึ้น
-  ระดับชาติ มีนโยบายต่าง ๆ ที่จะสนับสนุนให้
   การศึกษามีคุณภาพมากขึ้น เช่น การเตรียม
   คนให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี
   พ.ศ.๒๕๕๘  เป็นต้น

-  ขาดความมั่นคงทางการเมือง
-  มีการเปลี่ยนรัฐบาลบ่อย
-  มีการเปลี่ยนรัฐมนตรีว่าการ
   กระทรวงศึกษาธิการบ่อย
-  นักการเมืองแตกความสามัคคี
-  นโยบายทางการศึกษาเปลี่ยนแปลง
   บ่อยตามตัวรัฐมนตรีว่าการ

 1.2 หลักฐานสนับสนุนผลการประเมินตนเอง

หลักฐานสนับสนุนผลการดำเนินงาน

2.1 แผนพัฒนาการศึกษา
2.2 แผนปฏิบัติการ
2.3หลักสูตรสถานศึกษา
2.4 แผนการจัดการเรียนรู้
2.5 บันทึกหลังสอน
2.6 รายงานโครงการ/กิจกรรม
2.7 วิจัยในชั้นเรียน
2.8 แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
2.9 ตารางสอน
2.10 บันทึกการนิเทศภายใน/ตรวจเยี่ยม
2.11 บันทึกการประชุม
2.12 คำสั่งประจำปีการศึกษา 2563
2.13 บันทึกการใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกและภายในห้องเรียน
2.14 บันทึกการเยี่ยมบ้านนักเรียน
2.15 เอกสารธุรการประจำชั้นเรียน (ปพ.5,ปพ.6,ปพ.8) บันทึกการดื่มนม/บันทึกการตรวจสุขภาพ/บันทึกการรับประทานอาหารกลางวัน/บันทึกการแปรงฟัน/บันทึกภาวะโภชนาการ
2.15 สารสนเทศ
2.16 รายงานการประเมินตนเองของครู(SAR)
2.17 ผลการทดสอบระดับชาติ( RT , NT , O-NET)
2.18 วุฒิบัตรครู/นักเรียน
 1.3 แผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาในปีถัดไป

แผนพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น

3.1 แผนปฏิบัติงานที่ 1พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วิเคราะห์ทำความเข้าใจมาตรฐานและตัวชี้วัดในหลักสูตร ส่งเสริมมการ จัดการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลของครูให้สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นของนักเรียน

3.2 แผนปฏิบัติงานที่ 2 พัฒนาครู โดยการส่งเสริมให้เข้ารับการอบรม สัมมนา ด้านกระบวนการคิดคํานวณ

3.3 แผนปฏิบัติการที่ 3 ส่งเสริมพัฒนาครู โดยจัดให้ครูเข้ารับการอบรมการใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเด็กเป็นสำคัญภายใต้การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จัดทำสารสัมพันธ์ถึงผู้ปกครอง มีการสร้างกลุ่มไลน์ และเฟซบุ๊กกับผู้ปกครอง

3.4 แผนปฏิบัติงานที่ 4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ ให้ตอบสนองการใช้งานทั้งด้านการจัดการเรียนรู้ การบริหารจัดการและการสื่อสาร และส่งเสริมครูให้ใช้สื่อเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้

3.5 แผนปฏิบัติงานที่ 5 วิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ (RT,NT,O - NET) ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา จัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

3.6 แผนปฏิบัติงานที่ 6 ส่งเสริม สนับสนุน กํากับติดตามการดําเนินงาน กําหนดเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดําเนินการเช่นเดียวกับการเตรียม ความพร่อมในการทดสอบระดับชาติ

3.7 แผนปฏิบัติงานที่ 7 สร้างความตระหนักให้นักเรียนเห็นความสําคัญของการดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิต จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม

3.8 แผนปฏิบัติงานที่ 8 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้สามารถตอบสนองความต้องการและพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายได้วิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนานักเรียนให้เรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ

3.9 แผนปฏิบัติงานที่ 9 นิเทศ กํากับ ติดตาม การจัดการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของครูอย่างเป็นระบบ

3.10 แผนปฏิบัติงานที่ 10 กําหนดแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC)

3.11 แผนปฏิบัติงานที่ 11 สรุปการดําเนินงานเพื่อสร้างรูปแบบในการดําเนินการในปีการศึกษาต่อไป จัดทําแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง

 ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)
 2.1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานศึกษา (ที่ตั้ง การจัดการศึกษา สภาพชุมชน เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม เป็นต้น)

 ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป
          โรงเรียนวัดหมูดุด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๔ ตำบลคลองขุด  อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
               โรงเรียนหลังแรก  ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ รูปทรงปั้นหยา เสาคอนกรีต สูง ๑๒๐ เมตร ขนาด๒๐ x ๔๐ เมตร ไม่มีฝาประจันต์ห้อง สร้างโดยชาวบ้านหมูดุด กับเงินทางราชการ ๓๐๐ บาท ในสมัยขุนภูมิประศาสตร์เป็นนายอำเภอท่าใหม่ อาคารหลังนี้ได้ถูกรื้อไปแล้ว เพราะทรุดโทรม
               โรงเรียนหลังที่สอง  สร้างแบบ ป.๑ ข. ๓ ห้องเรียน ขนาด๘.๕๐ x ๒๗ เมตร บนเชิงเขาหลังวัดหมูดุด เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ ด้วยงบประมาณของกองฉลากกินแบ่งรัฐบาล ๒๔๐,๐๐๐ บาท ในสมัยท่านนายอำเภอชุ่ม  ลาภอนันต์ และท่านศึกษาการุณย์  บุญมานุช ในการสร้างโรงเรียนหลังนี้ต้องฟันฝ่าอุปสรรคนานาประการ เช่นการทำลายหิน ดิน ต้นไม้ เพื่อปราบที่ การขนส่งอุปกรณ์การก่อสร้าง ต้องขนทางทะเลใช้แรงงานคนแบกหาม (ไม่มีถนน) อาศัยศาลาของวัดเป็นที่เรียน มี นายณรงค์  แก้วเนตร เป็นครูใหญ่คนแรก จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๘  จากชายฝั่งสู่ชายเขา ประมาณค่าแรงงาน ๔๐,๐๐๐ บาท อาคารหลังนี้ได้ย้ายมาตั้งใน   ที่แห่งใหม่แล้ว
                 โรงเรียนหลังที่สาม  สร้างแบบ ป.๑ ข. ๓ ห้องเรียน ขนาด ๘.๕๐ x ๒๗ เมตร ในที่ดินจำนวน๒ ไร่ ๒ งาน ๘๙ ตารางวา ซึ่งซื้อไว้เป็นกรรมสิทธิ์ของทางราชการ ด้วยเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท ตรงทางสามแยกที่เลี้ยวไปแหลมเสด็จและหาดเจ้าหลาว (เจ้าของเดิมชื่อ ผู้ใหญ่ เปี๋ยน,นางสาวปิ๋ว,นางจำปี  ไชยสืบ)สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๐ ด้วยเงินงบประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ บาท ในสมัยท่านนายอำเภอยนต์  สุนทรสารทูล และหัวหน้าหมวดการศึกษา นายสุวรรณ  โสประภา
       โรงเรียนหลังที่สี่ ได้ย้ายโรงเรียนหลังที่สองจากเชิงเขาโดยติดต่อขอมติจากที่ประชุมสภาตำบลนำเงินของโครงการสร้างทางในชนบท จำนวน ๕๙,๙๓๗ บาท กับเงินสมทบ ๑๔,๐๐๐ บาทมาทำการรื้อย้ายสร้างใหม่ในที่ที่จัดซื้อไว้ ใกล้กับหลังที่สาม รื้อย้ายสำเร็จเรียบร้อยเมื่อ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๒๔
         เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๐ บริษัทไปรษณีย์ไทยร่วมกับโรงเรียนวัดหมูดุด ได้จัดผ้าป่าการศึกษาและนำเงินที่ได้มาสร้างเป็นโรงอาหารไปรษณีย์ไทยร่วมใจ
     ในปัจจุบันโรงเรียนวัดหมูดุด เปิดทำการสอนตั้งแต่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่

     
การดำรงตำแหน่งของผู้บริหารโรงเรียน
๑.      นายทองหยด  ดิษฐะ      ดำรงตำแหน่งครูใหญ่      ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๓๔
๒.      นางอรพรรณ  เกษสุวรรณ  ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน  ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๕๑
๓.      นายพงษ์ศักดิ์  บุญสร้าง   ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน   ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๙
๔.    นายสุรชัย เชื้อสาย  รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙   ถึงวันที่  ๒๑ ธันวาคม  ๒๕๕๙
๕.      นายสุนทร ประมวล   ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน  ตั้งแต่วันที่  ๒๒  ธันวาคม ๒๕๕๙       ถึงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๔๖๒
๖.      นางสาวสุนีรัตน์   จันทรานุวัฒน์กุล  ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน   ตั้งแต่วันที่  ๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๓   ถึงปัจจุบัน

แผนที่โรงเรียน    
แผนผังอาคารสถานที่

หมายเลข ๑

บ้านพักครู

หมายเลข ๗

สนามเด็กเล่น

หมายเลข ๒

อาคารเรียน ๑

หมายเลข ๘

โรงเพาะเห็ด

หมายเลข ๓

อาคารเอนกประสงค์

หมายเลข ๙

อาคารเรียน ๒

หมายเลข ๔

ห้องน้ำ ๑

หมายเลข ๑๐

โรงอาหารไปรษณีย์ร่วมใจ

หมายเลข ๕

เสาธง / พระพุทธรูป

หมายเลข ๑๑

ห้องน้ำ ๒

หมายเลข ๖

สนามฟุตบอล

 

 

         

 

 

การบริหารจัดการ (วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เป้าประสงค์)

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

วิสัยทัศน์  
โรงเรียนวัดหมูดุด มีความมุงมั่นในการบริหารงานจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ชุมชนมีส่วนร่วม     จัดการศึกษา พัฒนาครูให้มีศักยภาพ เน้นผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม และวิชาการ ก้าวไกลด้านเทคโนโลยี    ทางการศึกษา

 
พันธกิจ
โรงเรียนวัดหมูดุด ได้กำหนดพันธกิจ เพื่อพัฒนาผู้เรียน ไปสู่วิสัยทัศน์ของโรงเรียนดังนี้
 ๑.  เร่งพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา            
 ๒. พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในด้านการจัดการเรียนการสอน และมีทักษะ                 ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ           
 ๓.  ปฏิรูปการเรียน พัฒนาการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ในบทเรียนทุกกลุ่มสาระ             
 ๔. โรงเรียน และชุมชนร่วมกันวางแผนดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย
 ๕. จัดหาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัย

เป้าหมาย
   ๑.  ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการบริการทางการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษาอย่างเสมอภาคและทั่วถึง
   ๒.  ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการบริการทางการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษาอย่างมีคุณภาพ
   ๓.  มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
  ๔.  ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีคุณธรรม จริยธรรม สืบสานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย ดำเนินชีวิตอย่างพอพียง นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
   ๕.  ผู้เรียนมีผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีทักษะ   ในการสื่อสารก้าวทันเทคโนโลยีและมีคิดริเริ่มสร้างสรรค์
   ๖.  ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีการพัฒนาความรู้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และมีทักษะการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   ๗.  ผู้ปกครอง ชุมชน เอกชน และท้องถิ่นเข้ามาร่วมระดมทุน ส่งเสริม สนับสนุนทรัพยากร            เพื่อใช้ในการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ และเกิดประสิทธิภาพ

ปรัชญาโรงเรียน
เรียนเด่น   เล่นดี  มีคุณธรรม  

คำขวัญโรงเรียน
ความรู้ดี   มีวินัย   ใฝ่เรียนรู้

สีประจำโรงเรียน
สีชมพู  -  สีน้ำตาล

 
คติธรรม
สุขา    สังฆัสสะ   สามัคคี
ความสามัคคี   จะนำมาซึ่งความสำเร็จ  และความสุข

 
อักษรย่อของโรงเรียน
ม.ด.

ข้อมูลบุคลากร (ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง)

ผู้บริหาร ครู พนักงานราชการ อัตราจ้าง พนักงานธุรการ ภารโรง
1 3 0 2 1 1


ข้อมูลนักเรียน (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา/ศึกษาต่อ (นำเสนอเป็นกราฟ)

ข้อมูลหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดหมูดุด (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กำหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อให้ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบัติ ดังนี้

ระดับการศึกษา

ระดับปฐมวัย การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา มุ่งเน้นทักษะพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และ การพัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ระดับประถมศึกษา การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษา มุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อสื่อสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

ข้อมูลอาคารสถานที่ (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ หรือแผนภูมิ)

 

แผนผังอาคารสถานที่

 หลักฐานอ้างอิง :

ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา (นำเสนอเป็นความเรียง หรือกราฟ)

จุดเด่น
โรงเรียนวัดหมูดุด มีการดำเนินกิจกรรมหนึ่งโรงเรียน หนึ่งพืชผักสวนครัว ปลูกฝังให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำเกษตรกรรมโดยการปลูกพืชผักสวนครัว เป็นการส่งเสริมอาชีพให้แก่นักเรียนในอนาคต และเพื่อสนับสนุนโครงการอาการกลางวัน สร้างรายได้ให้แก่โรงเรียนและนักเรียนเอง
ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากทางโรงเรียนได้จัดโครงการอาหารกลางวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบลคลองขุดทำให้นักเรียน ทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ มีคุณภาพและถูกสุขลักษณะ
จุดควรพัฒนา
ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาภาษาต่างประเทศ และวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนยังอยู่ในระดับต่ำ ควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผลการประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน อยู่ระดับดี พอใช้ และปรับปรุงควรมีการพัฒนานักเรียนและส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ในนักเรียน โดยเฉพาะในนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับปรับปรุง


โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๑. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

 

 

 

 

๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ทุกกลุ่มสาระ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอน
๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการเรียนรู้
๓. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น

เชิงปริมาณ
๑. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ – ๖ ได้วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ
๒. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ - ๖ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอนทุกคน
เชิงคุณภาพ
๓. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ - ๖ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านคุณภาพนักเรียนและผ่านเกณฑ์ประเมินทุกตัวชี้วัดตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

มาตรฐานที่ ๑
คุณภาพของผู้เรียน

๒. โครงการจัดและให้บริการห้องสมุดโรงเรียน

๑. เพื่อให้มีหนังสือประเภทต่าง ๆ อย่างเพียงพอ
๒. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่านและสนใจศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
๓. เพื่อให้ห้องสมุดเป็นแหล่งบริการ ให้ครูและนักเรียนใช้ห้องสมุดมากขึ้น

๑. มีหนังสืออ่านประกอบอย่างน้อย จำนวน 10 เล่ม ต่อคน
๒. ครู นักเรียน เข้ามาอ่านหนังสือในห้องสมุด ร้อยละ 100
๓. นักเรียน ครู ผู้ปกครอง รักการอ่านมากขึ้นและใฝ่รู้ใฝ่เรียนตลอดชีวิต

๓. โครงการพบพระชำระใจ

๑. เพื่อให้ครูและนักเรียนมีความเข้าใจกัน เพื่อหาทางแก้ปัญหาในด้านต่าง ๆ โดยใช้หลักพุทธธรรม
๒. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาชีวิตให้สามารถ กิน อยู่ ดู ฟัง อย่างผู้มีวัฒนธรรม
๓. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตและดำเนินชีวิตได้ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม

๑. นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่าง ๆ จนทำให้มีการพัฒนาเกิดขึ้นจนชัดเจนเป็นที่ชื่นชมของผู้ปกครอง คณะครูและชุมชน
๒. บุคลากรทุกคนในโรงเรียนมีการพัฒนาตนเองทั้งวิถีการทำงานและ วิถีชีวิต

 

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๔. โครงการโรงเรียนสีขาวต่อต้านยาเสพติด

๑. เพื่อให้สถานศึกษาปลอดจากสารเสพติด การพนัน สื่อลามก และการทะเลาะวิวาท
๒. เพื่อแสวงหาแนวทางป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด การพนัน สื่อลามก และการทะเลาะวิวาท ให้มีผลในเชิงปฏิบัติโดยเร็วและต่อเนื่อง

๑. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนมี "ภูมิคุ้มกัน” การติดสารเสพติด การพนัน สื่อลามกและการทะเลาะวิวาท
๒. โรงเรียนวัดหมูดุด ได้รับการยอมรับเป็น "โรงเรียนสีขาว” ต่อไป

มาตรฐานที่ ๑
คุณภาพของผู้เรียน

๕. โครงการอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน

๑. เพื่อจัดบริการอาหารกลางวันให้นักเรียนทุกคนและทุกวัน
๒. เพื่อป้องกันและลดปัญหา ทุพโภชนาการและการขาดแคลนอาหาร

๑. โรงเรียนจัดบริการอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนได้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนทุกวัน
๒. นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ มีร่างกายแข็งแรง มีน้ำหนัก ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

๖. โครงการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

๑. ช่วยเหลือด้านปัจจัยพื้นฐานนักเรียนทุกคน
๒. นักเรียนทุกคนมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์แข็งแรงมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด

- นักเรียนได้รับการช่วยเหลือด้านทุนการศึกษาคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
- นักเรียนร้อยละ ๑๐๐มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน


หลักฐานอ้างอิง :
 ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) ผลการประเมินพัฒนาการระดับปฐมวัย (นำเสนอเป็นกราฟ) สำหรับสถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัย


2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.1) ผลการทดสอบระดับชาติ RT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.2) ผลการทดสอบระดับชาติ NT (นำเสนอเป็นกราฟ)


4.3) ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET (นำเสนอเป็นกราฟ)


5) ผลการประเมินสมรรถนะ (นำเสนอเป็นกราฟ)


 2.2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
 2.2.1 ระดับปฐมวัย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก
มีคุณภาพระดับ  
กระบวนการพัฒนา  
โรงเรียนวัดหมูดุด มีกระบวนการพัฒนาเด็กที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ โรงเรียนจัดให้เด็กได้รับประทานอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ ปริมาณเหมาะสมตามวัย มีการควบคุมดูแลให้เด็กดื่มนมเป็นประจำทุกวันอย่างสม่ำเสมอ มีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกเดือน มีกิจกรรม ออกกำลังกายหน้าเสาธงก่อนเข้าเรียนทุกวัน จัดหา อุปกรณ์ ซ่อมแซมสนามเด็กเล่นให้มีความปลอดภัย สะดวก พร้อมใช้งานอยู่ตลอดเวลา ไม่มีจุดที่เป็นอันตราย มีกฎ กติกา ข้อตกลงในการดูแลตนเองให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงจากอันตราย มีการจัดบอร์ดให้ความรู้แก่เด็กเกี่ยวกับโรคติดต่อในชุมชน โรคติดต่อจากการอยู่ร่วมกัน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด มีการจัดกิจกรรมสุขภาพดีมีสุขเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้กับเด็ก และได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด ในการดูแลส่งเสริมสุขภาพอนามัยของเด็ก

นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมให้เด็กได้เล่นกีฬาตามความสามารถ มีการจัดกิจกรรมเรียนรู้สู่โลกกว้าง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม มีวินัยในตนเอง มีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ มีมารยาทที่ดี ยิ้ม ไหว้ ทักทาย ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน สามารถรับประทานอาหารด้วยตนเองและมีมารยาทในการรับประทานอาหาร รู้จักดูแลรักษาความสะอาด ทั้งภายในและนอกห้องเรียน โดยการจัดกิจกรรมแบ่งเขตพื้นที่รับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือ แบ่งปันเพื่อนในห้องเรียน ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ได้ โดยการใช้กิจกรรมกลุ่มในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ รู้จักเก็บของเล่น สิ่งของเครื่องใช้ ของตน และของส่วนรวม ปลูกฝังให้นักเรียนรู้จักประเพณีวัฒนธรรม ด้วยกิจกรรมอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รู้จักทดแทนบุญคุณพ่อ แม่ ครู โดยจัดกิจกรรมวันสำคัญทางชาติ กิจกรรมวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังให้เด็กมีความซื่อสัตย์สุจริต ไม่เอาสิ่งของของผู้อื่นมาเป็นของตน มีความอดทน มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะ ดนตรี ให้นักเรียนได้วาดภาพ ระบายสี เพื่อสร้างจินตนาการและมีอารมณ์ผ่องใส ให้เด็กได้ทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนาน มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูได้ดำเนินการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และมีการจัดกิจกรรมร้อง เล่น เต้น อ่าน ให้เด็กได้แสดงออกตามศักยภาพของตน
ผลการดำเนินงาน  โรงเรียนได้ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ได้ โดยการเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย โครงการค่ายวิทยาศาสตร์ ทำให้เด็กได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง การสังเกต ความคิดสร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา มีการจัดกิจกรรมโครงงานเพื่อการเรียนรู้ โดยส่งเสริมให้เด็กมีความสนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว กล้าซักถามเพื่อค้นหาคำตอบ มีการจัดกิจกรรมหนูรักภาษาไทย เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีทักษะทางภาษา มีนิสัยรักการอ่าน ส่งเสริมให้เด็กอ่านนิทานและเล่านิทานที่ตนเองอ่านให้ครูและเพื่อนฟัง มีการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็ก เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับต่าง ๆ มีการสร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะโดย การวาดภาพระบายสี การตัด ฉีก ตัด ปะ ส่งเสริมให้เด็กได้เสนอผลงานด้วยภาษาที่เหมาะสมตามวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนเพื่อให้เด็กได้ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลภายนอก เรียนรู้นอกสถานที่ แก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 - รายงาน สรุป โครงการ/กิจกรรม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  
การจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนบ้านโรงเรียนวัดหมูดุด ได้มีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจของสถานศึกษาไว้อย่างชัดเจน มีองค์ประกอบที่สำคัญเพื่อที่จะขับเคลื่อนการศึกษาระดับปฐมวัยได้แก่ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ได้มีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยให้สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น พิจารณาจากวัยของเด็ก ประสบการณ์ของเด็ก โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาเด็กทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ มีการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีศักยภาพ สำหรับด้านระบบกลไก การเสริมสร้างความตระหนักรับรู้ และความเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย โดยให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายได้มีบทบาทในการมีส่วนร่วมการจัดการศึกษา โดยให้มี การประสานความร่วมมือเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ

โรงเรียนวัดหมูดุด ได้จัดสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นซึ่งเอื้อประโยชน์ และอำนวยความสะดวกต่อการพัฒนาเด็ก ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และสติปัญญา คือ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จัดให้มีอุปกรณ์ ของเล่น ของใช้ เครื่องนอน เครื่องอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้พอเพียงกับเด็ก โดยจัดให้เหมาะสม สะอาด ปลอดภัย ให้มีมุมหนังสือที่จำเป็นต่อพัฒนาการของเด็กให้เพียงพอและเหมาะสม จัดให้มีพื้นที่สำหรับแปรงฟัน ล้างมือ ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้ำ ห้องส้วม พร้อมอุปกรณ์ที่จำเป็นและเหมาะสมกับเด็ก มีหลักสูตรปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาเป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดการเตรียมความพร้อม เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง สอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่นจัดครูที่เหมาะสมกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ คือมีครูประจำการที่จบการศึกษาปฐมวัย ซึ่งส่งผลให้ครูด้านการศึกษาปฐมวัยทุกคนล้วนมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล มีประสบการณ์ในการออกแบบการจัดกิจกรรม ทักษะการสังเกต และการปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เรียน
ผลการดำเนินงาน  นักเรียนเกิดการเรียนรู้ทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม มีมุมประสบการณ์และสื่อการเรียนรู้ที่หลากหลายที่ได้จากธรรมชาติหรือสื่อในชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นมีความสุขในการเรียนรู้ มีสื่อเทคโนโลยีใช้ในการสืบเสาะหาความรู้ มีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาครูอย่างเพียงพอและทั่วถึง มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และอัตลักษณ์ที่สถานศึกษากำหนด มีการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการประเมินผลตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงานและจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม พร้อมทั้งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัดอย่างต่อเนื่อง
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา  จัดการศึกษาปฐมวัยมุ่งเน้นความสำคัญของการพัฒนาการในทุกๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นสุข ภายใต้คำว่า เก่ง ดี มีสุข ประสบการณ์ในรูปแบบบูรณาการการเรียนรู้ แบบเรียนผ่านเล่น เพื่อให้เด็กได้ประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้และมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งสามารถยืดหยุ่นได้ความเหมาะสมและสอดคล้องกับหลักสูตรปฐมวัย ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ครอบคลุมพัฒนาการในทุกๆด้านให้เหมาะสมกับวัย ดังนี้ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหวทางร่างกาย เด็กเคลื่อนไหวอย่างเหมาะสมตามจินตนาการเพื่อให้ร่างกายทุกส่วนทั้งกล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้งชั่งใจ รู้จักการรอคอย กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปันมีความรับผิดชอบด้านสังคม
ผลการดำเนินงาน  เด็กช่วยเหลือตัวเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ มีวินัยในตนเอง เล่นร่วมกับผู้อื่นได้ มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ด้านสติปัญญา มีความคิดร่วมยอด รู้จักการแก้ปัญหา สื่อสารและมีทักษะความคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้อย่างเหมาะสมตามวัย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง จากการเรียนผ่านการเล่น โดยลงมือปฏิบัติจริงด้วยตนเองและการเรียนรู้รายกลุ่ม เพื่อก่อให้เกิดความมีน้ำใจ ความสามัคคี การแบ่งปัน และการรอคอย เพื่อส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีความสุข จัดบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมความสนใจให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนมีบรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ มีความเอื้อเผื่อเผื่อแต่ต่อกันและกัน ซึ่งเป็นแรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่เด็กนักเรียน
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
โรงเรียนวัดหมูดุด มีการจัดโครงสร้างระบบการบริหารงานและการพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบโดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีแผนการดำเนินงานของโรงเรียนอย่างชัดเจน กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และมีแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาอย่างชัดเจน ผู้บริหารและครูมีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ สามารถจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน จัดสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ นำภูมิปัญญาท้องถิ่น และแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ใช้สื่อและเทคโนโลยีในการเรียนการสอน และสืบค้นข้อมูล จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ มีการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ กิจกรรมพัฒนาสุนทรียภาพ ของผู้เรียนอย่างครบถ้วน ส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย ประเพณีวัฒนธรรม มีการนิเทศติดตาม ประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
 
1) ด้านคุณภาพเด็ก

ด้านสุขนิสัย สุขภาพจิต การปรับตัวเข้ากับสังคม การเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการสื่อสาร ทักษะจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก

เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย สามารถดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีสติปัญญาเรียนรู้ได้ตามกิจกรรมประจำวันอย่างดี

2)ด้านกระบวนการบริหารจัดการศึกษา

มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น การจัดสิ่งอำนวยความสะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ครูได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพ

3) การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ

เด็กมีพัฒนาการการอย่างสมดุล เด็กเรียนรู้ จากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรม มีบรรยากาศ ห้องเรียนเอื้อต่อการเรียนรู้ ประเมินผลเด็กด้วยวิธีการหลากหลาย
ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 
ครูโรงเรียนวัดหมูดุด มีคุณธรรมจริยธรรม มีความรู้ตรงกับงานที่รับผิดชอบ ครูเป็นผู้มีความรู้และเข้าใจเป้าหมายของหลักสูตร พัฒนาหลักสูตร จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ผลิตสื่อ และมีการประเมินผลตามสภาพจริง สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ไขปัญหานักเรียน ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง

นักเรียนโรงเรียนวัดหมูดุด เป็นผู้ที่มีคุณธรรมจริยธรรม มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร สามารถแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีสุนทรียภาพครบทุกด้าน
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.2.2 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา  
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ:ดี
๑. กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ และแบบใช้กระบวนการคิด โดยเรียนรู้ร่วมกับ กลุ่มภาคีเครือข่าย กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอำเภอท่าใหม่ เครือข่ายที่ ๖จัดค่ายการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยกันคิดและลงมือปฏิบัติจริง รวมไปถึงการส่งเสริมเรื่องการอ่านออกเขียนได้ ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ ตั้งแต่ระดับชั้น ป.๑โดยครูใช้เทคนิคในการสอนนักเรียนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล รวมไปถึงการจัดสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองเช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเพาะเห็ดรวมทั้งยังมีแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงเช่น ศูนย์การศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ วัดหมูดุด เป็นต้น

นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขโดยการปลูกฝังด้านคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์และเป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีการสร้างค่านิยมในการป้องกันตนจากภัยยาเสพติด โดยการร่วมกับชุมชนร่วมกันรณรงค์ในการป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงเข้าร่วมโครงการD.A.R.Eของสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งจัดให้ครูตำรวจเข้าอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงโทษภัยที่ได้รับจากการติดยาเสพติดอีกด้วยโรงเรียนมีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดแผนการเรียนการสอน และนำนักเรียนไปศึกษาภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา และมีการจัดลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ในการประกอบอาชีพ เช่นการเพาะเห็ด การทำโฮมสเตย์การทำประมงซึ่งชุมชนโดยรอบโรงเรียนวัดหมูดุดนั้นเป็นทะเลซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว รวมไปถึงการทำประมง เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน  

๒. ผลการดำเนินงาน
          ในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ  ผู้เรียนสามารถอ่านออกและเขียนคล่องอยู่ในระดับ ดี           แต่มีนักเรียนบางรายเป็นนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ครูประจำชั้นควรสอนเสริมให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนต่อไป  นักเรียนทุกคนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย  มีความกล้าคิด กล้าทำ กล้าพูด  กล้าแสดงออก  มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านทางสื่อต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีความรู้และรู้จักป้องกันตนให้ห่างจากสิ่งเสพติด รวมทั้งโทษและพิษภัยของยาเสพติด นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท   และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

ประเด็น

ผลการประเมิน

ความสามารถในการอ่าน
(ป.๑ – ป.๖)
(ระดับดี)

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖  จำแนกตามระดับคุณภาพ


ประเด็น

ผลการประเมิน

ความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์
(ระดับ ดี)

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสื่อสาร
คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖
จำแนกตามระดับคุณภาพ

 

 
ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มีคุณภาพระดับ  3
กระบวนการพัฒนา  
๑. กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ และแบบใช้กระบวนการคิด โดยเรียนรู้ร่วมกับ กลุ่มภาคีเครือข่าย กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอำเภอท่าใหม่ เครือข่ายที่ ๖ จัดค่ายการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยกันคิดและลงมือปฏิบัติจริง รวมไปถึงการส่งเสริมเรื่องการอ่านออกเขียนได้ ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ ตั้งแต่ระดับชั้น ป.๑ โดยครูใช้เทคนิคในการสอนนักเรียนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล รวมไปถึงการจัดสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเพาะเห็ด รวมทั้งยังมีแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง เช่น ศูนย์การศึกษาพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ วัดหมูดุด เป็นต้น
นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยการปลูกฝังด้านคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์และเป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีการสร้างค่านิยมในการป้องกันตนจากภัยยาเสพติด โดยการร่วมกับชุมชนร่วมกันรณรงค์ในการป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงเข้าร่วมโครงการ D.A.R.E ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งจัดให้ครูตำรวจเข้าอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงโทษภัยที่ได้รับจากการติดยาเสพติดอีกด้วย โรงเรียนมีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดแผนการเรียนการสอน และนำนักเรียนไปศึกษาภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา และมีการจัดลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ในการประกอบอาชีพ เช่น การเพาะเห็ด การทำโฮมสเตย์ การทำประมง ซึ่งชุมชนโดยรอบโรงเรียนวัดหมูดุดนั้นเป็นทะเลซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว รวมไปถึงการทำประมง เป็นต้น

ผลการดำเนินงาน  

ระดับคุณภาพ  :  ดี
๑. กระบวนการพัฒนา
สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปที่เหมาะสมกับผู้เรียน                 ทั้งแบบลงมือปฏิบัติจริง  แบบร่วมมือกันเรียนรู้ และแบบใช้กระบวนการคิด โดยเรียนรู้ร่วมกับ                        กลุ่มภาคีเครือข่าย กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอำเภอท่าใหม่ เครือข่ายที่ ๖  จัดค่ายการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยกันคิดและลงมือปฏิบัติจริง  รวมไปถึงการส่งเสริมเรื่องการอ่านออกเขียนได้           ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ ตั้งแต่ระดับชั้น ป.๑ โดยครูใช้เทคนิคในการสอนนักเรียนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล   รวมไปถึงการจัดสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้             ที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เช่น  ห้องสมุด  ห้องคอมพิวเตอร์  โรงเพาะเห็ด รวมทั้งยังมีแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง  เช่น ศูนย์การศึกษาพัฒนา                        อ่าวคุ้งกระเบน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ วัดหมูดุด เป็นต้น

นอกจากนี้  สถานศึกษาได้มีดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยการปลูกฝังด้านคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์และเป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีการสร้างค่านิยมในการป้องกันตนจากภัยยาเสพติด  โดยการร่วมกับชุมชนร่วมกันรณรงค์ในการป้องกันยาเสพติด  รวมไปถึงเข้าร่วมโครงการ D.A.R.E ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ                            ซึ่งจัดให้ครูตำรวจเข้าอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงโทษภัยที่ได้รับจากการติดยาเสพติดอีกด้วย   โรงเรียนมีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดแผนการเรียนการสอน และนำนักเรียนไปศึกษาภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา และมีการจัดลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ในการประกอบอาชีพ  เช่น การเพาะเห็ด การทำโฮมสเตย์ การทำประมง  ซึ่งชุมชนโดยรอบโรงเรียนวัดหมูดุดนั้นเป็นทะเลซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว  รวมไปถึงการทำประมง  เป็นต้น
 

๒. ผลการดำเนินงาน
ในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ  ผู้เรียนสามารถอ่านออกและเขียนคล่องอยู่ในระดับ ดี           แต่มีนักเรียนบางรายเป็นนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ครูประจำชั้นควรสอนเสริมให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนต่อไป   นักเรียนทุกคนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย  มีความกล้าคิด กล้าทำ กล้าพูด  กล้าแสดงออก  มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านทางสื่อต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีความรู้และรู้จักป้องกันตนให้ห่างจากสิ่งเสพติด รวมทั้งโทษและพิษภัยของยาเสพติด นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท   และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

ประเด็น

ผลการประเมิน

ความสามารถในการอ่าน
(ป.๑ – ป.๖)
(ระดับดี)

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖  จำแนกตามระดับคุณภาพ

 

ประเด็น

ผลการประเมิน

ความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์
(ระดับ ดี)

ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสื่อสาร
คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖
จำแนกตามระดับคุณภาพ

 

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
ระดับคุณภาพ  :  ดีเยี่ยม
๑. กระบวนการพัฒนา
          โรงเรียนได้ดำเนินการประชุมครู และคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อประเมินผลการจัดการศึกษา             ที่ผ่านมา  โดยการให้ทุกฝ่ายได้เข้ามามีส่วนร่วมในการออกความคิดเห็นเพื่อร่วมกันวางแผนการดำเนินงาน  ร่วมกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติกรประจำปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการในปัจจุบัน  พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร โดยความร่วมมือของผู้บริหาร คณะครู และชุมชน ทั้งในรูปของงบประมาณ อุปกรณ์การเรียนการสอนต่าง ๆ และจัดจ้างบุคคลมาช่วยในการสนับสนุนการเรียน            การสอน   มีการมอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบและกำกับ ติดตามการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย และสรุปผลการดำเนินการให้ทันตามกำหนดการ


โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๖. การจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น

๑.เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการชั้นเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบคละชั้น
๒. เพื่อพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนวัดหมูดุด เป็นโรงเรียนขนาดเล็กต้นแบบมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ผลการดำเนินงาน   ๒. ผลการดำเนินงาน
          ๒.๑  สถานศึกษาและชุมชนร่วมมือกันกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สอดคล้องกับสภาพชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการศึกษา
          ๒.๒ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนประจำปีของสถานศึกษา ที่สอดคล่องกับผู้เรียน                     มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ตามมาตรฐานตำแหน่ง มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศที่ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน สามารถนำข้อมูลไปใช้ในการดำเนินการได้อย่างเป็นระบบ  มีการร่วมมือกันระหว่างโรงเรียน ชุมชน และภาคีเครือข่าย กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอำเภอท่าใหม่ เครือข่ายที่ ๖  ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่กระตุ้นผู้เรียนให้ใฝ่เรียนรู้ และรู้จักการทำงานแบบกลุ่ม
          ๒.๓ สถานศึกษามีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี โดยร่วมกันระดมความคิดเห็นเพื่อปรับให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาปัจจุบัน และความต้องการในการพัฒนา
          ๒.๔ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และรับทราบผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน
          ๒.๕ สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการบริหาร การจัดการศึกษา ที่เหมาะสมเป็นระบบ ต่อเนื่อง และมีการเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
              ๒.๖ สถานศึกษามีการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ                      ยึดหลักธรรมาภิบาลและแนวคิดตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
          ๒.๗ สถานศึกษามีการระดมทรัพยากร เพื่อนำมาใช้ในการจัดการศึกษา พัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายอุปถัมภ์ ส่งผลให้โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณภาพ

 

วิธีการพัฒนา

ผลการพัฒนา

การพัฒนาครู บุคลากรทาง
การศึกษา

จำนวนครั้งที่ครูได้รับการอบรมพัฒนาทางวิชาชีพ


๔ คน
๑๐๐ %

การมีส่วนร่วมของเครือข่ายในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

 

 

 

 

จำนวนครั้งที่เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มีคุณภาพระดับ  0
กระบวนการพัฒนา  

มาตรฐานที่ ๓  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระดับคุณภาพ  :  ดีเยี่ยม
๑. กระบวนการพัฒนา
          โรงเรียนและกลุ่มเครือข่าย ได้ดำเนินการส่งเสริมจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย  เช่น การจัดค่ายยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมค่ายลูกเสือ รวมถึงกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่มโดยการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อสร้างเสริมความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลายให้แก่ผู้เรียน  โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น โรงเพาะเห็ด เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกเรียนรู้และปฏิบัติจริง อีกทั้งยังสามารถนำไปเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพส่งเสริมรายได้ให้กับผู้เรียน ครอบครัว และชุมชน มีการศึกษาตามแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ เพื่อให้นักเรียนได้สัมผัสกับสถานที่จริง  เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างสนุกสนาน สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง  ครูมีการใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี  สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง

๒. ผลการดำเนินงาน
          จากการดำเนินงาน   โครงการ และกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งในโรงเรียน นอกสถานที่                       และโครงการส่งเสริมเรียนรู้โดยเครือข่าย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ                               ส่งผลให้การประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้น                     อยู่ในระดับดีเยี่ยม
๓. จุดเด่น
            โรงเรียน ครู และบุคลากรมีความตั้งใจ ในการจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงการมีเครือข่ายที่ดี               ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกิจกรรมที่หลากหลาย  โดยการคิด การลงมือปฏิบัติจริง  จากการจัดการเรียนการสอน และจากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ทำให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง 
๔. จุดควรพัฒนา
          ครูควรจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม 


โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๑.  โครงการวิจัยในชั้นเรียน

๑.  เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจที่จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการพัฒนางาน  คือ พัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาวิชาชีพครู
๒.  เพื่อให้ครูผู้สอนร่วมมือกันส่งเสริมการทำวิจัยเพื่อพัฒนางานและให้มีความเข้าใจพื้นฐานการทำวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร และการเรียนรู้ ทั้งของตนเองและผู้เรียน
๓.  ให้มีการพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ระดับการศึกษา

๑.  ครูทุกชั้นเรียนทำการวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อย ๒ เรื่อง ต่อภาคเรียน
๒.  นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการเรียนรู้ที่ดีขึ้น และมีพฤติกรรมดีขึ้น
             

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๒.  โครงการจัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในหลักการของการดำเนินการตามขั้นตอนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมมากที่สุด
๒. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

๑. นักเรียนทุกคน  มีความรู้เรื่องสหกรณ์มากขึ้นและเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า  ๙๕%
๒. กิจกรรมสหกรณ์มีกระบวนการครบตามหลักสูตรในปีการศึกษา  ๒๕๕๙

๓. โครงการคุณธรรมนำความรู้และน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ

๑. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด  ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า  รวมทั้งเศรษฐกิจพอเพียง
๒. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ของ ระบบเศรษฐกิจ และความจำ เป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจสามารถนำไปประ ยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน

๑. ครูทุกคนสามารถบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้
๒. นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและมีความสุขในชีวิต

๔. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

๑. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒. นักเรียนได้ปฏิบัติจริง  สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๓. นักเรียนมีนิสัยรักการออมและเจตคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
๔. นักเรียนและโรงเรียนมีรายได้จากการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง
๕. เพื่อให้นักเรียน  นำความรู้ หลักการ  แนวคิด หรือทฤษฎีต่างๆ  ไปประยุกต์ใช้ได้
๖. เพื่อให้นักเรียนมีความสามัคคี  ให้ความร่วมมือกัน และสามารถทำงานเป็นหมู่คณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่าย

๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่            ๑ – ๖
๒. นักเรียนร้อยละ  ๘๐ มีความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีนิสัยรักการออมและมีเจตคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๕. โครงการจัดการศึกษาปฐมวัย

๑.  เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปกครองนำเด็กอายุ ๔ – ๖ ปี  เข้ารับการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๒.  เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย

๑.  ครูผู้สอนปฐมวัย ได้วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่ยึดเด็กเป็นสำคัญ
๒.  ครูผู้สอนปฐมวัย พัฒนาคุณภาพการเตรียมความพร้อมปฐมวัยได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอน
๓.  โรงเรียนเกณฑ์เด็กที่มีอายุ                ๔ – ๖ ปีในเขตบริการของโรงเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัยร้อยละ ๑๐๐

 

 

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๖. การจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น

๑.เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการชั้นเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบคละชั้น
๒. เพื่อพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนวัดหมูดุด เป็นโรงเรียนขนาดเล็กต้นแบบมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

ผลการดำเนินงาน  

มาตรฐานที่ ๓  กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ระดับคุณภาพ  :  ดีเยี่ยม
๑. กระบวนการพัฒนา
          โรงเรียนและกลุ่มเครือข่าย ได้ดำเนินการส่งเสริมจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย  เช่น การจัดค่ายยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมค่ายลูกเสือ รวมถึงกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่มโดยการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อสร้างเสริมความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลายให้แก่ผู้เรียน  โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น โรงเพาะเห็ด เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกเรียนรู้และปฏิบัติจริง อีกทั้งยังสามารถนำไปเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพส่งเสริมรายได้ให้กับผู้เรียน ครอบครัว และชุมชน มีการศึกษาตามแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ เพื่อให้นักเรียนได้สัมผัสกับสถานที่จริง  เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อย่างสนุกสนาน สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง  ครูมีการใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี  สอดแทรกภูมิปัญญาท้องถิ่น และมีการจัดทำวิจัยในชั้นเรียนปีการศึกษาละ ๑ เรื่อง

๒. ผลการดำเนินงาน
          จากการดำเนินงาน   โครงการ และกิจกรรมที่หลากหลาย ทั้งในโรงเรียน นอกสถานที่                       และโครงการส่งเสริมเรียนรู้โดยเครือข่าย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ                               ส่งผลให้การประเมินคุณภาพมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้น                     อยู่ในระดับดีเยี่ยม
๓. จุดเด่น
            โรงเรียน ครู และบุคลากรมีความตั้งใจ ในการจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงการมีเครือข่ายที่ดี               ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกิจกรรมที่หลากหลาย  โดยการคิด การลงมือปฏิบัติจริง  จากการจัดการเรียนการสอน และจากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ทำให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง 
๔. จุดควรพัฒนา
          ครูควรจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม 


โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๑.  โครงการวิจัยในชั้นเรียน

๑.  เพื่อให้ครูผู้สอนเข้าใจที่จะใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการพัฒนางาน  คือ พัฒนาการเรียนรู้ และพัฒนาวิชาชีพครู
๒.  เพื่อให้ครูผู้สอนร่วมมือกันส่งเสริมการทำวิจัยเพื่อพัฒนางานและให้มีความเข้าใจพื้นฐานการทำวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร และการเรียนรู้ ทั้งของตนเองและผู้เรียน
๓.  ให้มีการพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ระดับการศึกษา

๑.  ครูทุกชั้นเรียนทำการวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อย ๒ เรื่อง ต่อภาคเรียน
๒.  นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการเรียนรู้ที่ดีขึ้น และมีพฤติกรรมดีขึ้น
             

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๒.  โครงการจัดกิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน

๑. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถในหลักการของการดำเนินการตามขั้นตอนและมีส่วนร่วมในกิจกรรมมากที่สุด
๒. เพื่อให้นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

๑. นักเรียนทุกคน  มีความรู้เรื่องสหกรณ์มากขึ้นและเป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า  ๙๕%
๒. กิจกรรมสหกรณ์มีกระบวนการครบตามหลักสูตรในปีการศึกษา  ๒๕๕๙

๓. โครงการคุณธรรมนำความรู้และน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ

๑. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด  ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า  รวมทั้งเศรษฐกิจพอเพียง
๒. เพื่อให้นักเรียนเข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ของ ระบบเศรษฐกิจ และความจำ เป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจสามารถนำไปประ ยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวัน

๑. ครูทุกคนสามารถบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในแผนการจัดการเรียนรู้
๒. นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านเศรษฐกิจพอเพียงและมีความสุขในชีวิต

๔. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

๑. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒. นักเรียนได้ปฏิบัติจริง  สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
๓. นักเรียนมีนิสัยรักการออมและเจตคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
๔. นักเรียนและโรงเรียนมีรายได้จากการดำเนินงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง
๕. เพื่อให้นักเรียน  นำความรู้ หลักการ  แนวคิด หรือทฤษฎีต่างๆ  ไปประยุกต์ใช้ได้
๖. เพื่อให้นักเรียนมีความสามัคคี  ให้ความร่วมมือกัน และสามารถทำงานเป็นหมู่คณะ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่าย

๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่            ๑ – ๖
๒. นักเรียนร้อยละ  ๘๐ มีความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีนิสัยรักการออมและมีเจตคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๕. โครงการจัดการศึกษาปฐมวัย

๑.  เพื่อสนับสนุนให้ผู้ปกครองนำเด็กอายุ ๔ – ๖ ปี  เข้ารับการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
๒.  เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย

๑.  ครูผู้สอนปฐมวัย ได้วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่ยึดเด็กเป็นสำคัญ
๒.  ครูผู้สอนปฐมวัย พัฒนาคุณภาพการเตรียมความพร้อมปฐมวัยได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอน
๓.  โรงเรียนเกณฑ์เด็กที่มีอายุ                ๔ – ๖ ปีในเขตบริการของโรงเรียน เข้าเรียนระดับปฐมวัยร้อยละ ๑๐๐

 

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย
(เชิงปริมาณและคุณภาพ)
ของโครงการ/กิจกรรม

สนอง
มาตรฐานการศึกษา

๖. การจัดการเรียนการสอนแบบคละชั้น

๑.เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการชั้นเรียน ที่เอื้อต่อการเรียนรู้แบบคละชั้น
๒. เพื่อพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

โรงเรียนวัดหมูดุด เป็นโรงเรียนขนาดเล็กต้นแบบมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

 

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
ภาพรวมของสถานศึกษา
มีคุณภาพระดับ  4
กระบวนการพัฒนา
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

 

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (แผน ๔ ปี)  และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา  ดังนั้น                จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา  สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น  จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลือได้ ดังนี้

 

 

สรุปผล

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

w ด้านคุณภาพผู้เรียน

๑) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น  มีผลการประเมินระดับชาติและระดับท้องถิ่นสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานในสาระวิชาภาษาไทย และการงานพื้นฐานอาชีพ  นักเรียนมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตแข็งแรง ยิ้มแย้ม แจ่มใส ร่าเริง และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด

๒) ผู้เรียนอ่านหนังสือออก รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้

๓) ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยี และสื่อต่าง ๆในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง

๔) ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกาย น้ำหนัก และส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

 

w ด้านคุณภาพผู้เรียน

๑) ผู้เรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน การเขียนอยู่ในระดับปรับปรุง ควรได้รับการพัฒนาทักษะที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง            

๒)ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับชาติต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานในสาระวิชา ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ควรส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิชาดังกล่าว

 

w ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้บริหารมีภาวะผู้นำสูง มีความรู้ความสามารถ ในการบริหารงานเป็นอย่างดี มีความมุ่งมั่นอุทิศตนในการทำงาน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ทำให้ครูและบุคลากรของโรงเรียนทุกคนมีกำลังใจทำงาน มีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งได้รับการพัฒนาตนเองในการทำหน้าที่ประจำ และหน้าที่พิเศษอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย  สำเร็จตามแผนปฏิบัติงานตามเป้าหมายของโรงเรียนที่วางไว้เป็นอย่างดี เป็นที่ยอมรับของชุมชนองค์กรส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษาเป็นอย่างดี

w ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

๑)เผยแพร่และประชาสัมพันธ์วิสัยทัศน์        พันธกิจ และเป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนให้ประชาชนในชุมชนได้ทราบ 

๒)เปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

w ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๑)  โรงเรียน ครู และบุคลากรมีความตั้งใจ ในการจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงการมีเครือข่ายที่ดี   ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกิจกรรมที่หลากหลาย  โดยการคิด การลงมือปฏิบัติจริง  จากการจัดการเรียนการสอน

๒) นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน  ทำให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง 

w ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๑)ครูควรจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม 

 

w ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

โรงเรียนดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ การดำเนินงานที่เน้นการเข้ามามีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน  ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกระดับ

w ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

๑)โรงเรียนยังขาดการดำเนินการอย่างเป็นระบบ 

๒)ครูควรมีการติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล

 

 

 

 

แนวทางการพัฒนาในอนาคต

          ๑. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

๒. พัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนได้เต็มตามศักยภาพของผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีพฤติกรรมในการใฝ่รู้ใฝ่เรียน พฤติกรรมด้านการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ที่ดี

๓. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน

๔. การพัฒนาตนเองของครูในการใช้สื่อ เทคโนโลยี การใช้เทคนิคกระบวนการเรียนรู้ เน้นการใช้สื่อที่มีอยู่ให้คุ้มค่า

 

ความต้องการและการช่วยเหลือ

          ๑. ด้านบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์

          ๒. ด้านงบประมาณ

          ๓. สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย

          ๔. วิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้านให้การอบรมในช่วงวันหยุด

ผลการดำเนินงาน
(ควรนำเสนอจุดเด่นของแต่ละมาตรฐานที่ส่งผลต่อภาพรวม)
 

สรุปผลการประเมินในภาพรวม

 

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (แผน ๔ ปี)  และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา  ดังนั้น                จากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา  สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น  จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาในอนาคตและความต้องการการช่วยเหลือได้ ดังนี้

 

 

สรุปผล

จุดเด่น

จุดควรพัฒนา

w ด้านคุณภาพผู้เรียน

๑) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น  มีผลการประเมินระดับชาติและระดับท้องถิ่นสูงขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานในสาระวิชาภาษาไทย และการงานพื้นฐานอาชีพ  นักเรียนมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตแข็งแรง ยิ้มแย้ม แจ่มใส ร่าเริง และเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมตามที่สถานศึกษากำหนด

๒) ผู้เรียนอ่านหนังสือออก รวมทั้งสามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้

๓) ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยี และสื่อต่าง ๆในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง

๔) ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกาย น้ำหนัก และส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

 

w ด้านคุณภาพผู้เรียน

๑) ผู้เรียนที่มีผลการประเมินการอ่าน การเขียนอยู่ในระดับปรับปรุง ควรได้รับการพัฒนาทักษะที่เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง            

๒)ผู้เรียนมีผลการประเมินระดับชาติต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานในสาระวิชา ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ ควรส่งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิชาดังกล่าว

 

w ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

ผู้บริหารมีภาวะผู้นำสูง มีความรู้ความสามารถ ในการบริหารงานเป็นอย่างดี มีความมุ่งมั่นอุทิศตนในการทำงาน ดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ทำให้ครูและบุคลากรของโรงเรียนทุกคนมีกำลังใจทำงาน มีความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ทั้งได้รับการพัฒนาตนเองในการทำหน้าที่ประจำ และหน้าที่พิเศษอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย  สำเร็จตามแผนปฏิบัติงานตามเป้าหมายของโรงเรียนที่วางไว้เป็นอย่างดี เป็นที่ยอมรับของชุมชนองค์กรส่วนท้องถิ่นให้ความร่วมมือในการพัฒนาสถานศึกษาเป็นอย่างดี

w ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา

๑)เผยแพร่และประชาสัมพันธ์วิสัยทัศน์        พันธกิจ และเป้าหมายในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนให้ประชาชนในชุมชนได้ทราบ 

๒)เปิดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นมากขึ้น และมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

w ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๑)  โรงเรียน ครู และบุคลากรมีความตั้งใจ ในการจัดการเรียนการสอน รวมไปถึงการมีเครือข่ายที่ดี   ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ในกิจกรรมที่หลากหลาย  โดยการคิด การลงมือปฏิบัติจริง  จากการจัดการเรียนการสอน

๒) นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงจากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน  ทำให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ขึ้นเองอย่างต่อเนื่อง 

w ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๑)ครูควรจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วม 

 

w ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

โรงเรียนดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ การดำเนินงานที่เน้นการเข้ามามีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน  ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคลที่เกี่ยวข้องทุกระดับ

w ด้านการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล

๑)โรงเรียนยังขาดการดำเนินการอย่างเป็นระบบ 

๒)ครูควรมีการติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคล

 

 

 

 

แนวทางการพัฒนาในอนาคต

          ๑. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และติดตามช่วยเหลือด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน

๒. พัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนได้เต็มตามศักยภาพของผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีพฤติกรรมในการใฝ่รู้ใฝ่เรียน พฤติกรรมด้านการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ที่ดี

๓. พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน

๔. การพัฒนาตนเองของครูในการใช้สื่อ เทคโนโลยี การใช้เทคนิคกระบวนการเรียนรู้ เน้นการใช้สื่อที่มีอยู่ให้คุ้มค่า

 

ความต้องการและการช่วยเหลือ

          ๑. ด้านบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์

          ๒. ด้านงบประมาณ

          ๓. สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย

          ๔. วิทยากรที่มีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้านให้การอบรมในช่วงวันหยุด

ระบุร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
(แนบลิงค์)
 
 2.3 ภาคผนวก
  ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานสถานศึกษา ๑.๑ ข้อมูลทั่วไป โรงเรียนวัดหมูดุด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ หมู่ที่ ๔ ตำบลคลองขุด อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี โรงเรียนหลังแรก ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ รูปทรงปั้นหยา เสาคอนกรีต สูง ๑๒๐ เมตร ขนาด๒๐ x ๔๐ เมตร ไม่มีฝาประจันต์ห้อง สร้างโดยชาวบ้านหมูดุด กับเงินทางราชการ ๓๐๐ บาท ในสมัยขุนภูมิ ประศาสตร์เป็นนายอำเภอท่าใหม่ อาคารหลังนี้ได้ถูกรื้อไปแล้ว เพราะทรุดโทรม โรงเรียนหลังที่สอง สร้างแบบ ป.๑ ข. ๓ ห้องเรียน ขนาด๘.๕๐ x ๒๗ เมตร บนเชิงเขาหลัง วัดหมูดุด เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ ด้วยงบประมาณของกองฉลากกินแบ่งรัฐบาล ๒๔๐,๐๐๐ บาท ในสมัยท่านนายอำเภอชุ่ม ลาภอนันต์ และท่านศึกษาการุณย์ บุญมานุช ในการสร้างโรงเรียนหลังนี้ต้องฟันฝ่าอุปสรรคนานาประการ เช่นการทำลายหิน ดิน ต้นไม้ เพื่อปราบที่ การขนส่งอุปกรณ์การก่อสร้าง ต้องขนทางทะเล ใช้แรงงานคนแบกหาม (ไม่มีถนน) อาศัยศาลาของวัดเป็นที่เรียน มี นายณรงค์ แก้วเนตร เป็นครูใหญ่คนแรก จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๐๘ จากชายฝั่งสู่ชายเขา ประมาณค่าแรงงาน ๔๐,๐๐๐ บาท อาคารหลังนี้ได้ย้ายมาตั้งใน ที่แห่งใหม่แล้ว โรงเรียนหลังที่สาม สร้างแบบ ป.๑ ข. ๓ ห้องเรียน ขนาด ๘.๕๐ x ๒๗ เมตร ในที่ดินจำนวน ๒ ไร่ ๒ งาน ๘๙ ตารางวา ซึ่งซื้อไว้เป็นกรรมสิทธิ์ของทางราชการ ด้วยเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท ตรงทางสามแยกที่เลี้ยวไปแหลมเสด็จและหาดเจ้าหลาว (เจ้าของเดิมชื่อ ผู้ใหญ่ เปี๋ยน,นางสาวปิ๋ว,นางจำปี ไชยสืบ) สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๐ ด้วยเงินงบประมาณ ๒๗๐,๐๐๐ บาท ในสมัยท่านนายอำเภอยนต์ สุนทรสารทูล และหัวหน้าหมวดการศึกษา นายสุวรรณ โสประภา โรงเรียนหลังที่สี่ ได้ย้ายโรงเรียนหลังที่สองจากเชิงเขาโดยติดต่อขอมติจากที่ประชุมสภาตำบลนำเงินของโครงการสร้างทางในชนบท จำนวน ๕๙,๙๓๗ บาท กับเงินสมทบ ๑๔,๐๐๐ บาทมาทำการรื้อย้ายสร้างใหม่ในที่ที่จัดซื้อไว้ ใกล้กับหลังที่สาม รื้อย้ายสำเร็จเรียบร้อยเมื่อ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๒๔ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๖๐ บริษัทไปรษณีย์ไทยร่วมกับโรงเรียนวัดหมูดุด ได้จัดผ้าป่าการศึกษาและนำเงินที่ได้มาสร้างเป็นโรงอาหารไปรษณีย์ไทยร่วมใจ ในปัจจุบันโรงเรียนวัดหมูดุด เปิดทำการสอนตั้งแต่ ชั้นอนุบาลปีที่ ๒ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ การดำรงตำแหน่งของผู้บริหารโรงเรียน ๑. นายทองหยด ดิษฐะ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๓๔ ๒. นางอรพรรณ เกษสุวรรณ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๕๑ ๓. นายพงษ์ศักดิ์ บุญสร้าง ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๙ ๔. นายสุรชัย เชื้อสาย รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ๕. นายสุนทร ประมวล ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๔๖๒ ๖. นางสาวสุนีรัตน์ จันทรานุวัฒน์กุล ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๖๓ ถึงปัจจุบัน แผนที่โรงเรียน แผนผังอาคารสถานที่ หมายเลข ๑ บ้านพักครู หมายเลข ๗ สนามเด็กเล่น หมายเลข ๒ อาคารเรียน ๑ หมายเลข ๘ โรงเพาะเห็ด หมายเลข ๓ อาคารเอนกประสงค์ หมายเลข ๙ อาคารเรียน ๒ หมายเลข ๔ ห้องน้ำ ๑ หมายเลข ๑๐ โรงอาหารไปรษณีย์ร่วมใจ หมายเลข ๕ เสาธง / พระพุทธรูป หมายเลข ๑๑ ห้องน้ำ ๒ หมายเลข ๖ สนามฟุตบอล โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนวัดหมูดุด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ โรงเรียนวัดหมูดุด มีความมุงมั่นในการบริหารงานจัดการ โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ชุมชนมีส่วนร่วม จัดการศึกษา พัฒนาครูให้มีศักยภาพ เน้นผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม และวิชาการ ก้าวไกลด้านเทคโนโลยี ทางการศึกษา พันธกิจ โรงเรียนวัดหมูดุด ได้กำหนดพันธกิจ เพื่อพัฒนาผู้เรียน ไปสู่วิสัยทัศน์ของโรงเรียนดังนี้ ๑. เร่งพัฒนาคุณภาพด้านการศึกษา ๒. พัฒนาครู และบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในด้านการจัดการเรียนการสอน และมีทักษะ ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ปฏิรูปการเรียน พัฒนาการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม ในบทเรียนทุกกลุ่มสาระ ๔. โรงเรียน และชุมชนร่วมกันวางแผนดำเนินงานเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย ๕. จัดหาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาที่ทันสมัย เป้าหมาย ๑. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการบริการทางการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษาอย่างเสมอภาคและทั่วถึง ๒. ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการบริการทางการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา และระดับประถมศึกษาอย่างมีคุณภาพ ๓. มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ๔. ผู้เรียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีคุณธรรม จริยธรรม สืบสานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีไทย ดำเนินชีวิตอย่างพอพียง นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ๕. ผู้เรียนมีผมสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีทักษะ ในการสื่อสารก้าวทันเทคโนโลยีและมีคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ๖. ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคน มีการพัฒนาความรู้ มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และมีทักษะการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๗. ผู้ปกครอง ชุมชน เอกชน และท้องถิ่นเข้ามาร่วมระดมทุน ส่งเสริม สนับสนุนทรัพยากร เพื่อใช้ในการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพ และเกิดประสิทธิภาพ ปรัชญาโรงเรียน เรียนเด่น เล่นดี มีคุณธรรม คำขวัญโรงเรียน ความรู้ดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ สีประจำโรงเรียน สีชมพู - สีน้ำตาล คติธรรม สุขา สังฆัสสะ สามัคคี ความสามัคคี จะนำมาซึ่งความสำเร็จ และความสุข อักษรย่อของโรงเรียน ม.ด. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ ๑ สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาตามศักยภาพ กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ที่ ๓ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน กลยุทธ์ที่ ๔ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพ กลยุทธ์ที่ ๕ พัฒนาคุณภาพหลักสูตรให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาและส่งเสริมความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ๑.๒ ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา ๑) จำนวนบุคลากร บุคลากร ผู้บริหาร ครูผู้สอน พนักงานราชการ ครูจ้างสอน เจ้าหน้าที่อื่น ๆ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๑ ๓ - ๒ ๒ ๑.๑) ข้อมูลผู้บริหาร ผู้อำนวยการ ๑ คน ชื่อ-สกุล นางสาวสุนีรัตน์ จันทรานุวัฒน์กุล โทรศัพท์ ๐๖๔-๕๙๔๕๒๒๔ e-mail Soonthonburapha@gmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด ปริญญาโท สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ เมื่อ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ จนถึงปัจจุบัน รองผู้อำนวยการโรงเรียน - คน ๒) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร ๓) สาขาวิชาที่จบการศึกษาและภาระงานสอน สาขาวิชา จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู ๑ คนในแต่ละสาขาวิชา (ชม./สัปดาห์) ๑. บริหารการศึกษา ๑ - ๒. คณิตศาสตร์ - - ๓. วิทยาศาสตร์ ๒ ๓๐ ๔. ภาษาไทย ๑ ๓๐ ๕. ภาษาอังกฤษ - - ๖. สังคมศึกษา - - ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี - - ๘. การประถมศึกษา ๑ ๓๐ ๙. สุขศึกษา - - ๑๐. การปฐมวัย ๑ ๒๐ รวม ๖ ๑.๓ ข้อมูลนักเรียน จำนวนนักเรียนปีการศึกษา ๒๕๖๓ รวม ๓๙ คน ระดับชั้นเรียน อ.๒ อ.๓ รวม ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ รวม รวมทั้งหมด จำนวนห้อง ๑ ๑ ๓ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๘ ๘ เพศ ชาย ๒ ๒ ๔ ๘ ๑ ๔ ๒ ๑ ๑ ๒๕ ๒๕ หญิง ๒ ๖ ๘ ๓ ๑ ๒ ๒ ๑ ๒ ๒๗ ๒๗ รวม ๕ ๘ ๑๓ ๑๑ ๑ ๖ ๔ ๒ ๓ ๓๙ ๓๙ เปรียบเทียบจำนวนนักเรียนระดับอนุบาล ๑ - ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ เปรียบเทียบจำนวนนักเรียนระดับชั้น ป.๑ – ป.๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ – ๒๕๖๓ ๑.๔ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา ร้อยละของนักเรียนที่มีเกรดเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละรายวิชาในระดับ ๓ ขึ้นไป ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๑.๕ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ( RT ) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ ( National Test :NT ) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐาน ของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำแนกตามระดับคุณภาพ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 42.33 29.17 15.00 28.05 คะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัด 60.64 50.11 33.71 41.09 คะแนนเฉลี่ย สังกัด สพฐ.ทั้งหมด 54.96 38.87 35.65 37.64 คะแนนเฉลี่ย ระดับประเทศ 56.62 43.55 28.59 38.78 หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ยของนักเรียนในวิชาภาษาไทย สูงกว่า คะแนนเฉลี่ยทั้งระดับจังหวัด ระดับสังกัด สพฐ. และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ๒) เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( O-NET) ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑.๖ ข้อมูลการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวนนักเรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้นอกโรงเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๑.๗ ข้อมูลงบประมาณ งบประมาณ (รับ-จ่าย) รายรับ จำนวน/บาท รายจ่าย จำนวน/บาท เงินงบประมาณ ๓๐๑,๘๖๙.๔๘ งบดำเนินการ/เงินเดือน - ค่าจ้าง ๙๖,๐๐๐ เงินนอกงบประมาณ - งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ๑๘๖,๑๒๔.๔๘ เงินที่ได้รับจาก อปท. ๑๓๕,๐๐๐ งบอื่นๆ ค่าอาหารกลางวัน ๑๓๕,๐๐๐ รวมรายรับ ๔๓๖,๘๖๙.๔๘ รวมรายจ่าย ๔๑๗,๑๒๔.๔๘ ๑.๘ ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๑) สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเล มีประชากรประมาณ ๑๐๒ ครอบครัว บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ , เขตห้ามล่าสัตว์ป่าคุ้งกระเบน และวัดหมูดุด อาชีพหลักของชุมชน คือ ประมง(ร้อยละ 70) ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ (ร้อยละ100) ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ ตักบาตรเทโวและทอดกฐิน . ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ป.๖ อาชีพหลัก คือ ประมง,รับจ้าง ส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว ต่อปี ๖๐,๐๐๐ บาท จำนวนคนเฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน ๓) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน ๓.๑ โอกาส โรงเรียนตั้งอยู่ในเขต ตำบลคลองขุด ซึ่งมีโรงเรียนหลายแห่ง ประกอบกับการคมนาคมสะดวกเป็นอย่างดี โรงเรียนจำเป็นต้องอาศัยแหล่งเรียนรู้บริเวณใกล้เคียงและตำบลอื่นๆในเขตพื้นที่ อำเภอเป็นต้นว่า เขตห้ามล่าสัตว์คุ้งกระเบน ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ ศูนย์การศึกษาพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนฯ เป็นแหล่งเรียนรู้ระบบนิเวศวิทยาป่าชายเลน การฝึกอาชีพ นอกจากนี้ยังอยู่ใกล้วัดซึ่งเป็น แหล่งเรียนรู้ได้อย่างดี ๓.๒ ข้อจำกัด ผู้ปกครองมีค่านิยมในการส่งบุตรหลานไปเรียนในตัวเมืองมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการคมนาคมสะดวก มีรถรับส่งนักเรียน ผู้ปกครองไม่ต้องเป็นภาระในการรับส่ง และมีโรงเรียนใกล้กัน แนวโน้มบุคลากรลดลง ถึงแม้ว่าได้รับความร่วมมือจากชุมชน องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นพอสมควร แต่การพัฒนาปรับปรุงด้านต่างๆไม่สามารถทำให้นักเรียนในเขตบริการเข้ามาเรียนได้ ๑.๙ ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล สถานศึกษา - - - ผู้บริหาร(ระบุชื่อ) นางสาวสุนีรัตน์ จันทรานุวัฒน์กุล - - ครู(ระบุชื่อ) นางจีรภา นิธิวิโรฒ เลื่อนวิทยฐานะเป็น ครูชำนาญการพิเศษ สพป.จบ.๑ ครู(ระบุชื่อ) นางรัชฎาภรณ์ ชลวานิช เลื่อนวิทยฐานะเป็น ครูชำนาญการ สพป.จบ.๑ ครู(ระบุชื่อ) นางสาวบุริมนาด ไกรนิวรณ์ ครูผู้พัฒนา ผลสัมฤทธิ์ O-NET เพิ่มร้อยละ ๕ ขึ้นไป ครูดีในดวงใจ สพป.จบ.๑ อำเภอ นักเรียน(ระบุชื่อ) ๑. เด็กหญิงธาริกา ไชยนาม ๒. เด็กชายณรงค์ ไพเราะ ๓. เด็กชายธนากร ภารบุญ ๔. เด็กหญิงวริษา ไชยนาม เยาวชนไทยห่างไกลยาเสพติด DARE ยุวเกษตร/การอนุรักษ์พันธุ์กรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อำเภอ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานการประเมินมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (สมศ.) รอบ ๓ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกจำแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้ การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒ – ๕ ปี) ประเภทโรงเรียน การศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย น้ำหนัก คะแนน คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย ๑๐.๐๐ ๘.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ ๓๕.๐๐ ๒๙.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา ๑๕.๐๐ ๑๒.๕๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนว ทางการ ปฏิรูปการศึกษา ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๘๖.๕๐ ดี สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกระดับการศึกษาปฐมวัย (๒ – ๕ ปี) ประเภทโรงเรียน • ผลรวมคะแนนประเมินสถานศึกษา ๘๖.๕๐ คะแนน • มีคุณภาพระดับดี การรับรองมาตรฐานสถานศึกษาประเภทโรงเรียน • ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่ • ไม่ใช่ • มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้  ใช่ • ไม่ใช่ • ไม่มีตัวบ่งชี้ใดในระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่ • ไม่ใช่ ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒ – ๕ ปี)  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา • ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จำแนกตามกลุ่มตัวบ่งชี้ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมศึกษา และ/หรือ มัธยมศึกษา การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประถมศึกษา และ/หรือ มัธยมศึกษา น้ำหนัก คะแนน คะแนน ที่ได้ ระดับ คุณภาพ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ๑๐.๐๐ ๙.๖๔ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมละค่านิยมที่พึงประสงค์ ๑๐.๐๐ ๙.๔๕ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๑๐.๐๐ ๘.๘๕ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น ๑๐.๐๐ ๘.๕๕ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ๒๐.๐๐ ๘.๙๘ พอใช้ ตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๑๐.๐๐ ๘.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา ๕.๐๐ ๔.๘๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษา และต้นสังกัด ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ๕.๐๐ ๕.๐๐ ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี คะแนนรวม ๑๐๐.๐๐ ๘๑.๓๗ ดี สถานศึกษามีผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ตั้งแต่ ๘๐ คะแนนขึ้นไป  ใช่ • ไม่ใช่ สถานศึกษามีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้ จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้  ใช่ • ไม่ใช่ สถานศึกษาไม่มีตัวบ่งชี้ใดในระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่ • ไม่ใช่ สรุปผลการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของสถานศึกษาในภาพรวม  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา • ไม่สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา จากตารางสรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ทั้ง ๒ ระดับ คือ ระดับ การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียน พบว่า ระดับ การศึกษาปฐมวัย กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ ที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับดีมาก คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๕ เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไปและตัวบ่งชี้ที่ ๘ ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน และตัวบ่งชี้ ที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับดี คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษาและ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดี ทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา และตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนว ทางการ ปฏิรูปการศึกษา สรุปแนวทางในการพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับ การศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนคือ ๑. รักษาคุณภาพการจัดการศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับคุณภาพดีมาก คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑,๕,๘,๙ และ๑๐ ๒. ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับคุณภาพดีให้มีระดับคุณภาพสูงขึ้น คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๒ , ๓ , ๔ , ๖ , ๗ , ๑๑ และ ๑๒ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน ตัวบ่งชี้ ที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับดีมาก คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ตัวบ่งชี้ที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมละค่านิยมที่พึงประสงค์ ตัวบ่งชี้ที่ ๗ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา และตัวบ่งชี้ที่ ๘ พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด ตัวบ่งชี้ ที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับดี คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๔ ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น และตัวบ่งชี้ที่ ๖ ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และตัวบ่งชี้ ที่มีผลการประเมินคุณภาพในระดับพอใช้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๙ ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษาและตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม มีผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับดี ทั้ง ๒ ตัวบ่งชี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๑ ผลการดำเนินโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา และตัวบ่งชี้ที่ ๑๒ ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่สอดคล้องกับแนว ทางการ ปฏิรูปการศึกษา สรุปแนวทางในการพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนคือ ๑. รักษาคุณภาพการจัดการศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับคุณภาพดีมาก คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๑ , ๒ , ๗ , ๘ , ๙ และ ๑๐ ๒. ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับคุณภาพดีให้มีระดับคุณภาพสูงขึ้น คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๓ , ๔ , ๖ , ๑๑ และ ๑๒ ๓. พัฒนาคุณภาพการศึกษาในตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับคุณภาพพอใช้ คือ ตัวบ่งชี้ที่ ๕ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ให้มีระดับคุณภาพที่สูงขึ้น ส่วนที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ระดับคุณภาพ : ดี ๑. กระบวนการพัฒนา สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปที่เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งแบบลงมือปฏิบัติจริง แบบร่วมมือกันเรียนรู้ และแบบใช้กระบวนการคิด โดยเรียนรู้ร่วมกับ กลุ่มภาคีเครือข่าย กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอำเภอท่าใหม่ เครือข่ายที่ ๖ จัดค่ายการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้แบบกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยกันคิดและลงมือปฏิบัติจริง รวมไปถึงการส่งเสริมเรื่องการอ่านออกเขียนได้ ของผู้เรียน โดยเน้นให้ผู้เรียนทุกคนอ่านออกและเขียนได้ ตั้งแต่ระดับชั้น ป.๑ โดยครูใช้เทคนิคในการสอนนักเรียนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล รวมไปถึงการจัดสื่อการเรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเพาะเห็ด รวมทั้งยังมีแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่ให้นักเรียนได้เรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริง เช่น ศูนย์การศึกษาพัฒนา อ่าวคุ้งกระเบน สถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ วัดหมูดุด เป็นต้น นอกจากนี้ สถานศึกษาได้มีดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตของผู้เรียน เพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยการปลูกฝังด้านคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีวินัย ซื่อสัตย์และเป็นผู้มีจิตสาธารณะ มีการสร้างค่านิยมในการป้องกันตนจากภัยยาเสพติด โดยการร่วมกับชุมชนร่วมกันรณรงค์ในการป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงเข้าร่วมโครงการ D.A.R.E ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งจัดให้ครูตำรวจเข้าอบรมให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเฝ้าระวังและป้องกันยาเสพติด รวมไปถึงโทษภัยที่ได้รับจากการติดยาเสพติดอีกด้วย โรงเรียนมีการนำความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดแผนการเรียนการสอน และนำนักเรียนไปศึกษาภูมิปัญญาในชุมชนรอบๆ สถานศึกษา และมีการจัดลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เพื่อเป็นการส่งเสริมความรู้ในการประกอบอาชีพ เช่น การเพาะเห็ด การทำโฮมสเตย์ การทำประมง ซึ่งชุมชนโดยรอบโรงเรียนวัดหมูดุดนั้นเป็นทะเลซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว รวมไปถึงการทำประมง เป็นต้น ๒. ผลการดำเนินงาน ในด้านการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ผู้เรียนสามารถอ่านออกและเขียนคล่องอยู่ในระดับ ดี แต่มีนักเรียนบางรายเป็นนักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ครูประจำชั้นควรสอนเสริมให้เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนต่อไป นักเรียนทุกคนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย มีความกล้าคิด กล้าทำ กล้าพูด กล้าแสดงออก มีความสามารถในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านทางสื่อต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน รวมทั้งรู้เท่าทันสื่อและสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้เรียนมีความรู้และรู้จักป้องกันตนให้ห่างจากสิ่งเสพติด รวมทั้งโทษและพิษภัยของยาเสพติด นักเรียนทุกคนสามารถเล่นกีฬาได้อย่างน้อยคนละประเภท และมีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ประเด็น ผลการประเมิน ความสามารถในการอ่าน (ป.๑ – ป.๖) (ระดับดี) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินความสามารถในการอ่าน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ประเด็น ผลการประเมิน ความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์ (ระดับ ดี) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการสื่อสาร คิดคำนวณ และคิดวิเคราะห์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (ระดับ ดีเยี่ยม) ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ประเด็น ผลการประเมิน ผลการทดสอบระดับชาติ ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำแนกตามระดับคุณภาพ ผลการทดสอบระดับชาติ ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำแนกตามระดับคุณภาพ ประเด็น ผลการประเมิน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ประเด็น ผลการประเมิน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีผลการประเมินด้านความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ร้อยละผลการประเมินนักเรียนด้านการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น สุขภาวะทางจิต ภูมิคุ้มกัน และความเป็นธรรมต่อสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ประเด็น ผลการประเมิน ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ จำแนกตามระดับคุณภาพ ๓. จุดเด่น โรงเรียนวัดหมูดุด มีการดำเนินกิจกรรมหนึ่งโรงเรียน หนึ่งพืชผักสวนครัว ปลูกฝังให้นักเรียนมีความรู้และทักษะในการทำเกษตรกรรมโดยการปลูกพืชผักสวนครัว เป็นการส่งเสริมอาชีพให้แก่นักเรียนในอนาคต และเพื่อสนับสนุนโครงการอาการกลางวัน สร้างรายได้ให้แก่โรงเรียนและนักเรียนเอง ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากทางโรงเรียนได้จัดโครงการอาหารกลางวันโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบลคลองขุดทำให้นักเรียน ทุกคนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีประโยชน์ มีคุณภาพและถูกสุขลักษณะ ๔. จุดควรพัฒนา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาภาษาต่างประเทศ และวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนยังอยู่ในระดับต่ำ ควรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการประเมินการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน อยู่ระดับดี พอใช้ และปรับปรุง ควรมีการพัฒนานักเรียนและส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ในนักเรียน โดยเฉพาะในนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับปรับปรุง โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (เชิงปริมาณและคุณภาพ) ของโครงการ/กิจกรรม สนอง มาตรฐานการศึกษา ๑. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๑. เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ทุกกลุ่มสาระ ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอน ๒. เพื่อพัฒนานักเรียนให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการเรียนรู้ ๓. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น เชิงปริมาณ ๑. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ – ๖ ได้วิเคราะห์หลักสูตรและจัดทำแผนจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ ๒. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ - ๖ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอนทุกคน เชิงคุณภาพ ๓. ครูผู้สอนชั้น ป. ๑ - ๖ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานด้านคุณภาพนักเรียนและผ่านเกณฑ์ประเมินทุกตัวชี้วัดตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ๒. โครงการจัดและให้บริการห้องสมุดโรงเรียน ๑. เพื่อให้มีหนังสือป